กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา


“ โครงการ/รณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหา ”

จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกานต์ลดา แซ่ติ้น

ชื่อโครงการ โครงการ/รณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหา

ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4150-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ/รณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ/รณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ/รณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหา " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4150-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“โรคติดต่อ” เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้หากทุกคนให้ความสำคัญ และตระหนักถึงอันตรายของโรค รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขปัญหาโรคติดต่อ โดยจะเน้นให้ประชาชนมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเอง อันจะทำให้การดำเนินงานแก้ไขปัญหาเกิดความยั่งยืนโดยมุ่งพัฒนาให้มีระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติในชุมชน รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินสร้างเครือข่ายเพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมอันจะทำให้เกิดประสิทธิผล ต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ได้ทันท่วงทีโรคติดต่อ สำหรับในเขตร้อน อากาศอบอุ่นจนถึงร้อนจัดตลอดปี และมีฝนตกชุก มีความชื้นสูง เป็นผลให้เชื้อโรคต่างๆ ชุกชุม เมื่อมีการติดต่อถ่ายทอดไปยังผู้อื่น ก็จะทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคมากขึ้น จึงจะต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน และมีมาตรฐานในแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย ที่เข้ารับการรักษาเกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือเท้าปาก โรคตาแดง และในปัจจุบันก็มีโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID 2019) ที่ยังไม่มียาหรือวัคซีนที่สามารถรักษาได้ ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต และทรัพย์สินจำนวนมาก นั้น
ประกอบกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา ถือเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการด้านการสนับสนุน ส่งเสริม ฟื้นฟู และระงับโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในพื้นที่ และตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน ตามมาตรา 67 (3) กำหนดให้มีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ ดังนั้น เพื่อให้การป้องกันควบคุมและเฝ้าระวังโรคติดต่อเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะหา จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหาที่มีแมลงเป็นพาหะ
  2. ๒. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา
  3. ๓. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 อบรมให้ความรู้การป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ เป็นเงิน 18,600 บาท
  2. 2. กิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ จำนวนเงิน 73,700 บาทรายละเอียดดังนี้
  3. 3 กิจกรรมพ่นสารเคมี (หมอกควัน) จำนวนเงิน 58,200 บาท รายละเอียดดังนี้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหาที่มีแมลงเป็นพาหะ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2. กิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ จำนวนเงิน 73,700 บาทรายละเอียดดังนี้

วันที่ 20 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ จำนวนเงิน 73,700 บาทรายละเอียดดังนี้ 1) ป้ายไวนิลโครงการจำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 800 บาท 2) ค่าทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ทรายอะเบท)
    จำนวน 3 ถัง ๆ ละ 5,200 บาทเป็นเงิน 15,600 บาท 3) ค่าโลชั่นทากันยุงชนิดซอง จำนวน 1,500 ซอง เป็นเงิน 12,000 บาท 4) ค่าสเปรย์กำจัดยุง ขนาด 600 มล. จำนวน 75 ขวด เป็นเงิน 10,800 บาท 5) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับเจ้าหน้าที่ อสม. จำนวน 50 คนๆ ละ 18 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน22,500 บาท
  2. ค่าแผ่นพับสี ดังนี้ 6.1 แผ่นพันรณรงค์ไข้เลือดออก จำนวน 600 แผ่น ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท 6.2 แผ่นพับรณรงค์โรคไวรัสโคโรน่า 2019 จำนวน 600 แผ่นๆ ละ 10 บาทเป็นเงิน 6,000 บา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหาที่มีแมลงเป็นพาหะ

 

0 0

2. 2. กิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ จำนวนเงิน 73,700 บาทรายละเอียดดังนี้

วันที่ 20 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ จำนวนเงิน 73,700 บาทรายละเอียดดังนี้ 1) ป้ายไวนิลโครงการจำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 800 บาท 2) ค่าทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ทรายอะเบท)
    จำนวน 3 ถัง ๆ ละ 5,200 บาทเป็นเงิน 15,600 บาท 3) ค่าโลชั่นทากันยุงชนิดซอง จำนวน 1,500 ซอง เป็นเงิน 12,000 บาท 4) ค่าสเปรย์กำจัดยุง ขนาด 600 มล. จำนวน 75 ขวด เป็นเงิน 10,800 บาท 5) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับเจ้าหน้าที่ อสม. จำนวน 50 คนๆ ละ 18 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน22,500 บาท
  2. ค่าแผ่นพับสี ดังนี้ 6.1 แผ่นพันรณรงค์ไข้เลือดออก จำนวน 600 แผ่น ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท 6.2 แผ่นพับรณรงค์โรคไวรัสโคโรน่า 2019 จำนวน 600 แผ่นๆ ละ 10 บาทเป็นเงิน 6,000 บา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหาที่มีแมลงเป็นพาหะ

 

0 0

3. 3 กิจกรรมพ่นสารเคมี (หมอกควัน) จำนวนเงิน 58,200 บาท รายละเอียดดังนี้

วันที่ 20 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

3 กิจกรรมพ่นสารเคมี (หมอกควัน) จำนวนเงิน 58,200 บาท รายละเอียดดังนี้ 1) ค่าน้ำยาพ่นหมอกควัน จำนวน 6 ขวด ๆ ละ 2,400 บาท     เป็นเงิน 14,400 บาท 2) ค่าน้ำมันดีเซล และน้ำมันเบนซิน จำนวน 200 ลิตร เป็นเงิน  6,000 บาท 3) ค่าจ้างเหมาพ่นสารเคมี (หมอกควัน)
    (ในสถานศึกษา, วัด, มัสยิด, ส่วนราชการ)
    จำนวน 11 แห่ง ๆ ละ 2 ครั้ง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 3 คน เป็นเงิน  19,800 บาท 4) ค่าจ้างเหมาพ่นสารเคมี (หมอกควัน)
    (บริเวณครัวเรือนในพื้นที่ กรณีเกิดโรคระบาด)     จำนวน 30 ครัวเรือน ๆ 3 ครั้ง ๆ ละ 200 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 18,000 บาท รวมเป็นเงิน 58,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหาที่มีแมลงเป็นพาหะ

 

0 0

4. 1 อบรมให้ความรู้การป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ เป็นเงิน 18,600 บาท

วันที่ 20 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ 1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ 3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. การดำเนินกิจกรรม 4.1 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ ให้กับเด็กนักเรียนในพื้นที่ตำบลยะหา 4.2 ส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมบูรณาการออกประชาสัมพันธ์ ร่วมรณรงค์และแจกแผ่นพับประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาไข้เลือดออก และโรคมาลาเรีย
4.3 จัดกิจกรรม Big Cleaning Day กิจกรรมตัดหญ้าและเก็บขยะบริเวณริมทางสาธารณะ กิจกรรมการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในบริเวณโรงเรียน, ชุมชน, วัด, มัสยิด โดยออกดำเนินการทุกเดือน (เดือนละ 2 ครั้ง)
4.4 กิจกรรมการลงพื้นที่ฉีดพ่นสารเคมี (หมอกควัน) เพื่อกำจัดยุงลาย ได้แก่ บริเวณสถานศึกษา, วัด, มัสยิด, ปอเนาะ โดยออกดำเนินการแห่งละ 2 ครั้ง

1 อบรมให้ความรู้การป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ เป็นเงิน 18,600 บาท รายละเอียดดังนี้ 1) ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน3,600 บาท 2) ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 120 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน6,000 บาท 3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 120 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน6,000 บาท 4) ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับใช้ในการจัดกิจกรรม เช่น สมุด ปากกา จำนวน 100 ชุด ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน3,000 บาท


ร่วมเป็นเงิน18,600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหาที่มีแมลงเป็นพาหะ

 

18,600 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหาที่มีแมลงเป็นพาหะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนในเขตอบต.ยะหา สามารณป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหาที่มีแมลงเป็นพาหะได้ดีขึ้น
0.00

 

2 ๒. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา
ตัวชี้วัด : ในเขตพื้นที่ ตำบลยะหา ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลา
0.00

 

3 ๓. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหาที่มีแมลงเป็นพาหะ (2) ๒. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา (3) ๓. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 อบรมให้ความรู้การป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ เป็นเงิน 18,600 บาท (2) 2. กิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ จำนวนเงิน 73,700 บาทรายละเอียดดังนี้ (3) 3 กิจกรรมพ่นสารเคมี (หมอกควัน) จำนวนเงิน 58,200 บาท รายละเอียดดังนี้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ/รณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหา

รหัสโครงการ 64-L4150-01-08 ระยะเวลาโครงการ 31 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ/รณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4150-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกานต์ลดา แซ่ติ้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด