กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการให้ความรู้แกนนำสุขภาพและผู้ดุแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน
รหัสโครงการ 64-L1513-01-003
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินี จังหวัดตรัง
วันที่อนุมัติ 3 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 เมษายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 29 พฤษภาคม 2564
งบประมาณ 11,395.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเอมอร แสนดี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2564 30 เม.ย. 2564 11,395.00
รวมงบประมาณ 11,395.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2398 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้ป่วยโรควัณโรคในพื้นที่ตำบลควนเมา ปี 2564
8.00
2 จำนวนผู้ป่วยโรควัณโรคในพื้นที่ตำบลควนเมา ตั้งแต่ปี 2557 - 2563
30.00
3 ร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคอยู่ในกลุ่มผู้สูงอายุ
16.67
4 ร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคอยู่ในกลุ่มที่มีอายุน้อยกว่า 60 ปี
83.33

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้แกนนำสุขภาพและผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้เรื่องโรควัณโรค

ร้อยละ 80 ของแกนนำสุขภาพและผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้เรื่องโรควัณโรค

80.00
2 เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีการค้นหาผู้ป่วย โรควัณโรครายใหม่ในพื้นที่ตำบลควนเมาและส่งเข้ารับการรักษาได้ทันเวลา

ร้อยละ 90 ของแกนนำสุขภาพ มีการค้นหาผู้ป่วยโรควัณโรครายใหม่ในพื้นที่ตำบลควนเมาและส่งเข้ารับการรักษาได้ทันเวลา

83.33 90.00
3 เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรค เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพโดยการควบคุมกำกับการรักษาโดยมีแกนนำสุขภาพและผู้ดูแลผู้ป่วยเป็นพี่เลี้ยง (DOT)

ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยวัณโรค เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพโดยการควบคุมกำกับการรักษาโดยมีแกนนำสุขภาพและผู้ดูแลผู้ป่วยเป็นพี่เลี้ยง (DOT)

8.00 100.00
4 เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการรักษาสำเร็จและไม่กลับเป็นซ้ำ

ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยวัณโรคได้รับการรักษาสำเร็จและไม่กลับเป็นซ้ำ

30.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 7518 11,395.00 0 0.00
9 เม.ย. 64 ประชุมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพและผู้ดูแลผู้ป่วย 30 4,200.00 -
10 - 30 เม.ย. 64 คัดกรองโรควัณโรคในประชาชน อายุ 25 – 59 ปี 2,398 1,199.00 -
10 - 30 เม.ย. 64 รณรงค์ประชาสัมพันธ์โรควัณโรค ภายในชุมชน 5,080 5,746.00 -
10 เม.ย. 64 - 31 ธ.ค. 64 การควบคุมกำกับการกินยา (DOT) 10 250.00 -
  1. ขั้นเตรียมการ     1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินงาน     1.2 จัดทำและเสนออนุมัติโครงการ     1.3 ประสานกับหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง
  2. ขั้นดำเนินการ     2.1 ประชุมให้ความรู้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง / คณะทำงาน     2.2 ชี้แจงสถานการณ์โรค การดำเนินงานควบคุมและป้องกันการเกิดโรค แนวทางในการคัดกรองโรควัณโรค การรักษาผู้ป่วยวัณโรค การควบคุมกำกับการกินยาในระยะเข้มข้น และระยะต่อเนื่อง และการดูแลติดตามผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT แก่แกนนำสุขภาพและผู้ดูแลผู้ป่วย จำนวน 30 คน     2.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ / ความคิดเห็น     2.4 การคัดกรองโรควัณโรคในประชาชน อายุ 25 – 59 ปี จำนวน 2,398 คน     2.5 การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โรควัณโรคภายในชุมชน     2.6 การควบคุมกำกับการกินยาในระยะเข้มข้น และระยะต่อเนื่อง และการดูแลติดตามผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT
  3. ขั้นสรุปโครงการ     3.1 สรุปผลโครงการ     3.2 จัดทำรายงานสรุปผลโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ทำให้แกนนำสุขภาพและผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้เรื่องโรควัณโรค
  2. ทำให้แกนนำสุขภาพและผู้ดูแลผู้ป่วย มีการค้นหาผู้ป่วยโรควัณโรครายใหม่ในพื้นที่ตำบลควนเมาและส่งเข้ารับ  การรักษาได้ทันเวลา
  3. ทำให้ผู้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพโดยการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT) โดยแกนนำสุขภาพและผู้ดูแลผู้ป่วย
  4. ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการรักษาสำเร็จและไม่กลับเป็นซ้ำ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มี.ค. 2564 14:38 น.