กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเสริมสร้างสุขภาพจิตพิชิตโรคซึมเศร้า
รหัสโครงการ 64-L8308-2-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม.หมู่ที่ 9
วันที่อนุมัติ 27 ตุลาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 10,650.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ อสม.หมู่ที่ 9
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านแหลม อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
ละติจูด-ลองจิจูด 13.19900588,99.98022283place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพจิตและการเจ็บป่วยทางจิตกลายเป็นปัญหาที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ ส่วนหนึ่งอาจเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างจากเดิม ทำให้บุคคลมีวิถีชีวิตที่ต้องเร่งรีบ แก่งแย่งแข่งขัน ทำให้เกิดความเครียดและเจ็บป่วยทางจิตได้ง่าย ซึ่งปัญหาสุขภาพจิตของบุคคลจะแตกต่างกันไปในแต่ละช่วงวัย ตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังมีกลุ่มเสี่ยงที่มีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาสุขภาพจิตที่พบได้บ่อย ได้แก่ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ เป็นต้น เนื่องจากมีข้อจำกัดในการดำรงชีวิตเพิ่มมากขึ้นกว่าบุคคลทั่วไป จึงทำให้เกิดความเครียดหรือปัญหาสุขภาพได้ง่ายกว่าบุคคลทั่วไป การส่งเสริมสุขภาพจิตจึงเป็นส่วนสำคัญในการป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตให้ลดน้อยลงได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนมีความตระหนักในการดูแลตนเองและคนในครอบครัวให้ปลอดภัยจากโรคซึมเศร้า

จำนวนผู้มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้าลดลง

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.รวบรวมข้อมูล และวางแผนการดำเนินงาน 2.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประสานจัดหาวิทยากร และประชาสัมพันธ์โครงการ 3.จัดอบรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับกลุ่มเป้าหมายในเรื่องโรคซึมเศร้า 4.ตรวจคัดกรองภาวะโรคซึมเศร้า โดยใช้แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) ให้กับผุ้เข้าร่วมโครงการ 5.ติดตามประเมินผล แลรายงานผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนมีความตระหนักในการดูแลตนเองและคนในครอบครัวให้ปลอดภัยจากโรคซึมเศร้า 2.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการส่งต่อและได้รับการช่วยเหลืออย่างเหมาะสม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มี.ค. 2564 11:37 น.