กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ และส่งเสริมทักษะสมอง EF
รหัสโครงการ 64-L4150-02-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโด องค์การบริหารส่วนตำบลยะหา
วันที่อนุมัติ 1 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวมาลาตี มณีหิยา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 1. เด็กเล็กในช่วงอายุปฐมวัย มีความสำคัญต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ รวมถึงการพัฒนาในด้านความสามารถการควบคุมความรู้สึก ความคิดและการกระทำ เพื่อเตรียมความพร้อมให้เด็กสามารถปรับตัวต่อสังคมปัจจุบัน
86.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงตรัสไว้ว่า "หนังสือเป็นการสะสมความรู้และทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์ได้สร้างขึ้นมาตั้งแต่โบราณกาลจนทุกวันนี้ หนังสือจึงเป็นสิ่งสำคัญ คล้ายๆธนาคารความรู้และเป็นออมสิน เป็นสิ่งที่จะทำให้มนุษย์ก้าวหน้าได้โดยแท้ ช่วงอายุของเด็กปฐมวัยถือเป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดในการสร้างมนุษ์ให้ก้าวหน้าและมีคุณค่าต่อสังคม ช่วงอายุดังกล่าวจะมีการเจริญเติบโตที่รวดเร็วมากซึ่งถือเป็นหน้าต่างแห่งโอกาสเพื่อที่จะพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้าในการควบคุมความรู้สึก การคิดและการกระทำ หรือ ทักษะสมอง EF ( ExecutiveFunctions) โดยมีนิทานเป็นสื่อกลางสื่อสาร สายใยในครอบครัว ซึ่งครูปฐมวัยมีบทบาทและหน้าที่โดยตรงที่จะเป็นผู้วางรากฐานให้เด็กสามารถ "คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น อยู่กับคนอื่นเป็น และมีความสุขเป็น " โดยผ่านสื่อนิทานและสร้างวัฒนธรรมการอ่านให้เกิดขึ้นทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน ถือเป็นการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่จำเป็นพื้นฐานและเอื้อต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF และเพื่อเตรียมความพร้อมให้เด็กอยู่ในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 อย่างมีความสุขและประสบความสำเร็จในชีวิตต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เด็กเล็กได้มีความฉลาดทางอารมณ์ โดยการใช้หนังสือนิทานเป็นสื่อ
  1. ร้อยละ 100 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีมุมที่ส่งเสริมการรักการอ่านภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
86.00 0.00
2 2.เพื่อสร้างวัฒนธรรมการอ่านให้เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและที่บ้าน

2.ร้อยละ 100 เด็กเล็กทุกคนต้องได้รับการฟังนิทานที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม พัฒนาด้าน EF

86.00 0.00
3 3. เพื่อส่งเสริมให้ครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน และภาคีเครื่อข่าย มีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมของเด็กเพื่อเข้าสู่โลกแห่งศตวรรษที่ 21

3.ิ ร้อยละ 85 ของเด็กเล็ก ครู ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ ในพัฒนาการของเด็กและมีทักษะความฉาดทางอารมณ์ EF

86.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,250.00 1 20,250.00
1 - 31 ก.ค. 64 กิจกรรมอบรมให้ความรู้และเล่านิทาน 0 20,250.00 20,250.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกิดทักษะสมอง EF โดยการใช้หนังสือนิทานเป็นสื่อ
  2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีกระบวนการที่จะส่งเสริมพัฒนาวัฒนธรรมการอ่านให้เกิดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและที่บ้าน
  3. ครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน และภาคีเครื่อข่าย มีส่วนร่วมในการเตรียมพร้อมเด็ก เข้าสู่โลกแห่งศตวรรษที่ 21
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2564 13:29 น.