กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำร้านอาหารแผงลอย
รหัสโครงการ 013/2564
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลูโบ๊ะปันยัง
วันที่อนุมัติ 29 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 32,840.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวยูรัยนี เจะเลาะสุ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร
80.00
2 ร้อยละร้านขายของชำได้รับการเฝ้าระวังการขายยา เครื่องสำอางค์ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
70.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดความปลอดภัยจากอาหาร การใช้ ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพ

: 1. ร้อยละ 80 ของร้านขายของชำ ในชุมชนปลอดจากการจำหน่ายยา ที่ไม่สามารถจำหน่ายในร้านขายของชำ
  2.ร้อยละ 80 ของร้านขายของชำ ร้านอาหาร ร้านแผงลอยในชุมชนปลอดจากการจำหน่าย อาหาร เครื่องสำอาง และ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ไม่ได้คุณภาพ

80.00 70.00
2 2. เพื่อให้แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค มีความรู้เกี่ยวกับ อาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพ และสามารถตรวจหาสารปนเปื้อนได้

แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ บริการสุขภาพ และสามารถตรวจหาสารปนเปื้อนได้หลังเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80

60.00 70.00
3 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ในหมู่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพ

: ผู้ประกอบการร้านขายของชำ มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพ หลังเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80

60.00 50.00
4 4. เพื่อเฝ้าระวังการขายยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพในร้านขายของชำ

: ร้อยละ 100 ของร้านขายของชำได้รับการตรวจสอบ/ติดตาม และเฝ้าระวัง

70.00 60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 32,840.00 0 0.00
4 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 ที่ 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ อาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพที่ปลอดภัย ฝึกปฏิบัติวิธีการตรวจหารสารปนเปื้อนในอาหาร เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพในร้านขายของชำ แก่แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค 0 14,340.00 -
4 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 2 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยสามารถนำมาจำหน่ายได้ พร้อมฝึกปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อน แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ร้านอาหาร แผงลอย 0 4,800.00 -
4 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 3.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ อาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพที่ปลอดภัย ฝึกปฏิบัติวิธีการตรวจหารสารปนเปื้อนในอาหาร เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ แก่ประชาชนทั่วไป 0 12,500.00 -
4 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 4 ติดตามตรวจสารปนเปื้อนร้านขายของชำ ร้านอาหารแผงลอย 0 1,200.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้บริโภคมีความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพ
  2. ผู้ประกอบการร้านขายของชำสามารถเลือกซื้ออาหาร ยา เครื่องสำอางผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาจำหน่ายให้กับ ผู้บริโภค
  3. ร้านขายของชำในพื้นที่ได้รับการเฝ้าระวัง/ตรวจสอบตามกฎหมาย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ม.ค. 2564 00:00 น.