กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชวนน้อง กินพอดี ไม่มีอ้วน ในเขตตำบลพิมาน
รหัสโครงการ 60-L8008-1-19
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มงานเวชกรรมสังคมรพ.สตูล
วันที่อนุมัติ 6 กรกฎาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 44,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวปฤษณาสิตะรุโณ นักวิชาการสาธารณสุข
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันโรคอ้วนกำลังเป็นปัญหาทางสาธารณสุขพบทั้งเด็กและผู้ใหญ่จากการเฝ้าระวังภาวะเจริญเติบโตของนักเรียนพบว่านักเรียนในเขตเทศบาลเมืองสตูลมีภาวะโภชนาการที่ผิดปกติจำนวนมากหากภาวะโภชนาการดังกล่าวไม่ได้รับการแก้ไขอาจส่งผลทำให้เกิดปัยหาด้านโภชนาการในอนาคตได้ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลพิมานและกลุ่มงานเวชกรรมสังคมรพ.สตูล เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาภาวะโภชนาการในวัยเรียนและผลกระทบที่เกิดตามมาจากภาวะโภชนาการเกินจึงได้ดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียนในตำบลพิมานขึ้นมาเพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโตทางความสูงเต็มศักยภาพและได้สัดส่วนพร้อมทั้งมีสมรรถภาพทางด้านร่างกายและสติปัญญาจะช่วยให้เด็กเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพพร้อมทั้งประสานความร่วมมือกับภาคีที่เกี่ยวข้องในการดูแลส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพเด็กอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายการจัดอารมณ์ โดยยึดหลัก 3 อ. 2. เพื่อกระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 3. เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนในการบริโภคลดหวานมันเค็มในโรงเรียน 4. เพื่อสร้างระบบการเฝ้าระวังโภชนาการในวัยเรียน

เด็กที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ถูกต้องได้มากขึ้น

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมคณะดำเนินงานเพื่อวางแผนและกำหนดแนวทางในการดำเนินงาน
  2. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อขออนุมัติสนับสนุนงบประมาณ
  3. ประสานงานกับคณะดำเนินงานเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการและขอความร่วมมือในการดำเนินการและประชาสัมพันธ์โครงการกับหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง 4.ดำเนินการตามโครงการที่ตั้งไว้
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการอารมณ์ โดยยึดหลัก 3 อ.
  2. กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
  3. ระบบการเฝ้าระวังโภชนาการในวัยเรียน
  4. มีแกนนำนักเรียนในการบริโภค ลดหวาน มัน เค็ม ในโรงเรียน
  5. เด็กวัยเรียนสามารถเข้าถึงบริการ เมื่อมีปัยหาภาวะโภชนาการโดยระบบดูแลสุขภาพส่งต่อ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ก.ค. 2560 11:05 น.