กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร ร้านชำ แผงลอย จำหน่ายอาหาร21 เมษายน 2563
21
เมษายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพตำบลอบต.เกาะขนุน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.  เก็บตัวอย่างอาหารตรวจสอบสารปนเปื้อนอาหารจากร้านค้า แผงลอย ร้านขายของชำในหมู่บ้าน ตามมาตรฐานหลักสุขาภิบาลอาหารและงาน คุ้มครองผู้บริโภค ในรูปแบบสติ๊กเกอร์ แผ่นพบ กระเป๋า แจกเอกสารความรู้ให้กับร้านค้า แผงลอย ร้านขายของชำ 2.  รายงานผลการสุ่มตรวจสารอาหารปนเปื้อนให้ร้านค้า แผงลอย ร้านขายของชำทราบทางไลด์กลุ่ม 3  .เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านงานคุ้งครองผู้บริโภคให้ประชาชนรับทราบโดยกลุ่มแกนนำ และผู้ประกอบกสนร้านค้า/แผงลอย โดยการสื่อสารทางไลด์กลุ่ม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจร้านค้า  / แผงลอย  จำนวน  35  ร้าน  ผ่านตามเกณฑ์ จำนวน  35 ร้าน  โดยมีบางร้านติดเงื่อนไขเพียงเล็กน้อย  ได้ให้คำแนะนำ  และปฎิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด

อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านค้า แผงลอย แกนนำสุขภาพ อสม20 มีนาคม 2563
20
มีนาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพตำบลอบต.เกาะขนุน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งจัดตั้งไลด์กลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค 2.จัดทำสื่อให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านค้า แผงลอย แกนนำสุขภาพ และอสม.เรื่องงานคุ้มครอง 3.เก็บตัวอย่างอาหารตรวจสอบสารปนเปื้อนอาหารจากร้านค้า แผงลอย ร้านขายของชำในหมู่บ้าน ตามมาตรฐานหลักสุขาภิบาลอาหารและงาน คุ้มครองผู้บริโภค ในรูปแบบสติ๊กเกอร์ แผ่นพบ กระเป๋า แจกเอกสารความรู้ให้กับร้านค้า แผงลอย ร้านขายของชำ 4.รายงานผลการสุ่มตรวจสารอาหารปนเปื้อนให้ร้านค้า แผงลอย ร้านขายของชำทราบทางไลด์กลุ่ม 5.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านงานคุ้งครองผู้บริโภคให้ประชาชนรับทราบโดยกลุ่มแกนนำ และผู้ประกอบกสนร้านค้า/แผงลอย โดยการสื่อสารทางไลด์กลุ่ม 6.สรุปผลการดำเนินงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.  กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องงานคุ้มครองผู็บริโภคโดยตรง  เพราะเป็นผู็จำหน่ายและผู้บริโภค  รวมทั้งเป็นผู็นำด้านสุขภาพที่ต้องช่วยเรื่องการเฝ้าระวังการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายในชุมชน
2.  จากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม  ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ  82  และจากการสอบถามผู้เข้ารับการอบรมสามารถตอบคำถามวิทยากรได้อย่างถูกต้อง 3. ผู้เข้ารับการอบรมทุกท่านมีความรู้เรื่องการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์  อาหาร  ยา  และเครื่องสำอาง ได้อย่างถูกต้องและสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ให้ประชาชนในหมู่บ้านได้  ซึ่งเป็นการเฝ้าระวังเบื้องต้นของประชาชนในพื้นที่