กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันไข้เลือดออกตำบลธารคีรี ประจำปี 2564
รหัสโครงการ ?
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลธารคีรี
วันที่อนุมัติ 14 มิถุนายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 61,360.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ สำนกปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลธารคีรี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.559,101.059place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ยุงเป็นพาหะนำโรคติดต่อที่เป็นปัญหาที่สำคัญทางด้านสาธารณสุข เช่น โรคไข้เลือดออก โรคชิกุคุนย่า เนื่องจากโรคนี้สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปี ซึ่งในพื้นที่ตำบลธารคีรีมีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าและแหล่งน้ำเหมาะแก่การแพร่พันธ์ุของยุง โดยสถานการณ์ในปี 2563 ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงกันยายน มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกและมีผู้ป่วยไข้เลือดออกในตำบลธารคีรี จำนวน 27 ราย จากการประเมินสถารณ์ดังกล่าวต้องมีการดำเนินเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันการระบายของโรคที่เกิดจากยุง เพื่อลดปัญหาของการระบาดของโรคและการควบคุมโรคอย่างยั่งยืน สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลธารคีรี ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัทำโครงการควบคุมและกำจัดยุงตำบลธารคีรี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อลดความเสี่ยงและลดอัตราการป่วยด้วยโรคที่มียุงเป็นพาหะ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคชิกุนคุนย่า ข้อที่ 2 เพื่อกำจัดยุงที่เป็นพาหะนำโรคในตำบลธารคีรี

ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. ประชาชนตำบลธารคีรีมีอัตราการเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะลดลงร้อยละ 50 2. ปริมาณยุงลดลง ร้อยละ50

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชุมเตรียมการดำเนินงานโครงการ ประสานอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลธารคีรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาฆอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหาดทราย และผู้นำชุมชน 2. ดำเนินการพ่นหมอกควันรายเคสผู้ป่วยไข้เลือดออกที่ รพสต.ได้ประสานงานมา จำนวน 30 เคสๆละ 6 ครั้ง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถควบคุมการระบาดของโรคที่มียุงเป็นพาหะได้
  2. เสริมสร้างความร่วมือระหว่างหน่วยงาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 มี.ค. 2564 10:20 น.