กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่ายชมรมสร้างสุขภาพ ประจำปี 2560
รหัสโครงการ L 4161 - 2560 - 13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ แกนนำทีมขับเคลื่อนสุขภาพตำบลบาโงย
วันที่อนุมัติ 27 กรกฎาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 27 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 7,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนูรีย๊ะ มะเสาะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาโงย อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.473,101.349place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2560 30 ก.ย. 2560 7,800.00
รวมงบประมาณ 7,800.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การที่ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพตามคำขวัญที่ว่า“ แม้เราเป็นชาวบ้าน เราก็สามารถดูแลสุขภาพของพวกเรากันเองได้ ”ตามคำขวัญและฐานคิดนี้อยู่เบื้องหลัง คือหมู่บ้านจัดการสุขภาพซึ่งเป็นเป้าเหมายในการพัฒนาคือประชาชนในหมู่บ้านหรือชุมชนพึ่งพากันเองได้ทางด้านสาธารณสุข และเป็นทั้งกระบวนการพัฒนา และเป้าหมายสุดท้าย หรือสิ่งที่เราอยากเห็นหรืออยากให้เกิดขึ้นคือ ประชาชนในหมู่บ้านหรือชุมชนพึ่งพากันเองได้ทางด้านสาธารณสุขแต่การที่ประชาชนจะสามารถพึ่งพากันเองได้นั้น ต้องอาศัยกระบวนการพัฒนาด้วยกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนเองจนสามารถรู้จักตนเองเข้าใจตนเองและกำหนดอนาคตของชุมชนได้เองจนเกิดเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้และการพึ่งพากันเอง คือประชาชนจะสามารถจัดการกันเองหรือพึ่งพากันเองได้ ดังนั้นในการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพจึงจำเป็นต้องเชื่อมโยงกับภาคีเครือข่ายสุขภาพในตำบลเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพออกมาในรูปภาคีเครือข่ายสุขภาพตำบลเพราะตำบลมีโครงสร้างการพัฒนาขององค์กรภาครัฐ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโรงเรียนพัฒนากรเกษตรตำบล )และมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (การศึกษาชุมชนแบบมีส่วนร่วม /ศึกษาดูงาน,การวางแผนแบบมีส่วนร่วม,การสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์,การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน ฯลฯ) เป็นจุดเชื่อมประสานภาคีเครือข่ายภายในตำบลเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาสุขภาพ
ทีมขับเคลื่อนสุขภาพตำบลบาโงยจึงจัดทำโครงการพัฒนาเครือข่ายทีมขับเคลื่อนสุขภาพตำบลบาโงยสุขภาพตำบล ปี 2560ขึ้นเพื่อให้เกิดทิศทาง และแนวทางการประสานงานภาคี เครือข่ายสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรมและมีการขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลมากขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อให้เกิดแผนด้านสุขภาพ โดยชุมชนมีส่วนร่วม

 

2 2. เพื่อให้เกิดกิจกรรมด้านสุขภาพในชุมชน โดยชุมชนเอง

 

3 3. เพื่อให้หมู่บ้าน / ตำบลจัดการสุขภาพอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

2.1. เขียนโครงการ เสนอขออนุมัติโครงการ 2. กิจกรรมอบรม แกนนำ / ภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพตำบลบาโงย.
3. ติดตามผลการดำเนินงานขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลให้เกิดเป็นรูปธรรม 4. สรุปผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.1 ได้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน และสามารถนำไปปรับแผนชุมชนและแผนพัฒนาสุขภาพตำบลให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น 6.2. ตำบลเกิดแผนพัฒนาสุขภาพ โดยชุมชนเอง เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ก.ค. 2560 23:39 น.