กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ พัฒนาทักษะด้านโภชนาการและสร้างนักจัดการ แก้ไขปัญหาโภชนาการแบบ Active Learning ปี 2564
รหัสโครงการ 64-L3006-01-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะยิไร
วันที่อนุมัติ 1 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 31 สิงหาคม 2564 - 30 พฤศจิกายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2564
งบประมาณ 25,085.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสาปีนะ ฮะซา
พี่เลี้ยงโครงการ นายอิสมาอีลล์ เหตุ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.666,101.417place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ภาวะทุพโภชนาการตามเกณฑ์น้ำหนักเทียบกับส่วนสูงที่มีภาวะผอมย้อนหลังตั้งแต่ปี 2560 -2563 ของอำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี คิดเป็นร้อยละ 45 , 42 และ 39 ตามลำดับ
40.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะทุพโภชนาการตามเกณฑ์น้ำหนักเทียบกับส่วนสูงที่มีภาวะผอมย้อนหลังตั้งแต่ปี 2560 -2563 ของอำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี คิดเป็นร้อยละ 45 , 42 และ 39 ตามลำดับ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตระหนักและมีทักษะด้านโภชนาการของเด็กแต่ละช่วงอายุ ดังนี้ - เข้าใจสถานการณ์โภชนาการและตระหนักถึงผลกระทบของเด็กขาดสารอาหาร รวมทั้งมีความเข้าใจต่อความคิด ความเชื่อที่ส่งผลกระทบในเรื่องการบริโภคอาหารของเด็กปฐมวัย - ความสำคัญ และความแตกต่าง “อาหารและสารอาหาร” เข้าใจ และความรู้เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ แหล่งที่มาของสารอาหาร - เข้าใจถึงผลกระทบของภาวะทุพโภชนาการต่อพัฒนาการเด็กและจัดเมนูอาหารที่มีคุณภาพ เพื่อแก้ไขภาวะทุพโภชนาการได้

เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาตนเองสู่นักจัดการแก้ไขภาวะโภชนาการในครอบครัว ดังนี้       - สามารถวางแผนเมนูอาหารตามมาตรฐาน สัดส่วน ปริมาณอาหาร มีคุณภาพต่อเด็ก ในแต่ละช่วงวัย       - เข้าใจวิธีการสร้างพฤติกรรมการกินของเด็กที่เหมาะสม

40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 60 25,085.00 0 0.00
1 ก.ย. 64 - 30 พ.ย. 64 กิจกรรมพัฒนาตนเองสู่นักจัดการแก้ไขภาวะโภชนาการในครอบครัว 60 25,085.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาตนเองสู่นักจัดการแก้ไขภาวะโภชนาการในครอบครัว ดังนี้   - สามารถวางแผนเมนูอาหารตามมาตรฐาน สัดส่วน ปริมาณอาหาร มีคุณภาพต่อเด็ก ในแต่ละช่วงวัย   - เข้าใจวิธีการสร้างพฤติกรรมการกินของเด็กที่เหมาะสม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 มี.ค. 2564 14:14 น.