กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ 5 คัดเลือก อสม.ต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ1 มกราคม 2564
1
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลยาบี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ค่าประกาศนียบัตรพร้อมกรอบ มอบให้อสม.บุคคลต้นแบบสำหรับ อสม.ต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 15 คน อัตราคนละ 250 บาท เป็นเงิน 3750 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

-จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80

กิจกรรมที่ 4 อสม.ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดและประเมินระดับค่าความดันโลหิตสูง (ติดตาม 3 เดือนครั้ง จำนวน 2 ครั้ง)1 มกราคม 2564
1
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลยาบี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ค่าตอบแทนให้กับอสม.จำนวน 38 คนในการติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูง อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 3800 บาท

-ค่าเครื่องวัดความดันโลหิตสูง จำนวน 6 เครื่อง (หมู่ละ 1 เครื่อง) เครื่องละ 2600 บาท เป็นเงิน 15600 บาท

-ค่าเครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 6 เครื่อง (หมู่ละ 1 เครื่อง) เครื่องละ 2950 บาท เป็นเงิน 17700 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สีและปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80

กิจกรรมที่ 3 คืนข้อมูลสถานะทางสุขภาพของคนในชุมชน และให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง1 มกราคม 2564
1
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลยาบี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน อัตราคนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80

กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพและคัดกรองเบื้องต้น1 มกราคม 2564
1
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลยาบี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ไม่มีงบประมาณ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่เข้ารวมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวาน1 มกราคม 2564
1
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลยาบี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

งบประมาณ

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 5000 บาท

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน อัตราคนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 5000 บาท

-ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 X 3 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 900 บาท

-ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม

-สมุด จำนวน 100 เล่มๆละ 10 บาท เป็นเงิน 1000 บาท

-ปากกา จำนวน 100 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 500 บาท

-แฟ้มใส่เอกสาร จำนวน 100 ใบๆละ 40 เป็นเงิน 4000 บาท

รวมเป็นเงิน 16400 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80