กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงานคัดกรองความดัน อายุ 35 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ ปี 2562 กลุ่มปกติ ร้อยละ 60.67 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 30.59 กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 8.23 ปีงบประมาณ ปี 2563 กลุ่มปกติ ร้อยละ 81.06 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 10.47 กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 8.03 ปีงบประมาณ ปี 2564 กลุ่มปกติ ร้อยละ 83.63 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 8.58 กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 7.44 ผลการดำเนินงานคัดกรองเบาหวาน อายุ 35 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ ปี 2562 กลุ่มปกติ ร้อยละ 81.59
กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 17.12 กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 1.29 ปีงบประมาณ ปี 2563 กลุ่มปกติ ร้อยละ 86.29 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 13.46 กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 0.88 ปีงบประมาณ ปี 2564 กลุ่มปกติ ร้อยละ 81.91 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 17.85 กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 0.16 จากกลุ่มเป้าหมาย 100 คน เป็นกลุ่มปกติ 55 คน คิดเป็นร้อยละ 55 เป็นกลุ่มเสี่ยง 35 คน คิดเป็นร้อยละ 35 เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง 10 คน คิดเป็นร้อยละ 10

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลงร้อยละ 5
100.00 100.00

 

2 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับแนวทางการปรับเปลี่ยนตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี และหลักการ 3 อ 2 ส
ตัวชี้วัด : 2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สีและปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับแนวทางการปรับเปลี่ยนตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี และหลักการ 3 อ 2 ส

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวาน (2) กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพและคัดกรองเบื้องต้น (3) กิจกรรมที่ 3 คืนข้อมูลสถานะทางสุขภาพของคนในชุมชน และให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (4) กิจกรรมที่ 4 อสม.ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดและประเมินระดับค่าความดันโลหิตสูง (ติดตาม 3 เดือนครั้ง จำนวน 2 ครั้ง) (5) กิจกรรมที่ 5 คัดเลือก อสม.ต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh