กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ เครื่อข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี ตำบลควนกาหลง (ประเภทที่ 1)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลควนกาหลง
วันที่อนุมัติ 29 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 20,445.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวมนสิชา รอดผล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.953,100.03place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 456 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อนำเสนอปัญหาและการดำเนินกิจกรรมให้แก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการมีสุขภาพช่องปากที่ดีของเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตตำบลควนกาหลง2.เพื่อสร้าแกนนำนักเรียนที่สามารถควบคุมการทำความสะอาดช่องปากหลังรับประทานอาหารกลางวันของเด็กประถมศึกษาในโรงเรียน3.เพื่อเชื่อมประสานระบบการให้บริการทันตกรรมระหว่างโรงเรียนและโรงพยาบาลให้มีความรวดเร็วครอบคลุมและต่อเนื่องมากขึ้น4.เพื่อให้นักเรียนระดับประถมศึกษามีทักษะในการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันอย่างมีประสิทธิภาพ5.เพื่อประเมินการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดีของเด็กนักเรียน

1.ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการมีสุขภาพช่องปากที่ดีของเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตตำบลควนกาหลงเข้าร่วมประชุมผู้เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กประถมศึกษาในเขตตำบลควนกาหลงไม่น้อยกว่าร้อลละ 902 2.จำนวนแกนนำนักเรียนผ่านการอบรมแกนนำนักเรียนไม่น้อยกว่าตร้อยละ 90 3.จำนวนเด็กนักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายที่มีค่า plaque index ลดลงมากกว่า 1ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 4.จำนวนเด็กนักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายฟันดีไม่มีฟันผุ(cavity free)ไม่น้อยกว่าร้อลละ 70 5.จำนวนโรงเรียนในเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีที่จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำความสะอากช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ90 6.จำนวนโรงเรียนในเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีที่ไม่จำหน่ายน้ำหวาน น้ำอัดลม ลูกอมและขนมกรุบกรอบไม่น้อยกว่าร้อยละ90

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

กิจกรรมย่อยที่ 1 1.นำเสนอปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนในเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี 2.นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนในเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี 3.จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี กิจกรรมย่อยที่ 2 1.นำเสนอภารกิจของการเป็น junior dental hygienist 2.แบ่งนักเรียนเข้าฐานการเรียนรู้ 3.ประเมินผลการฝึกอบรม กิจกรรมย่อยที่ 3 1.แจ้งกำหนดการเยี่ยมสำรวจโรงเรียน 2.ออกเยี่ยมสำรวจร้านค้ารอบบริเวณโรงเรียนและร้านค้าในโรงเรียน 3.ออกเยี่ยมสำรวจสถานที่เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดช่องปาก 4.สอนการทำความสะอาดช่องปากแก่นักเรียนระดับประถมศึกษา 5.ตรวจค่า plaque index ในเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษาทุก 3 เดือน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กประถมศึกษารับทราบปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กและมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพช่องปากที่ดีของเด็ก 2.แกนนำนักเรียนสามารถส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีให้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาได้ 3.การให้บริการทันตกรรมระหว่างโรงเรียนและโรงพยาบาลมีความรวดเร็วและครอบคลุมมากขึ้น 4.นักเรียนชั้นประถมศึกษามีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น 5.โรงเรียนมีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 เม.ย. 2564 14:02 น.