กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตาดีการู้เท่าทันโทษภัยอาหารขยะ
รหัสโครงการ 64-L3011-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนตาดีกานูรูลวะห์ดะห์
วันที่อนุมัติ 7 เมษายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 31,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายรอโซล อีซอ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.853,101.267place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) จากข้อมูลภาวะทุพโภชนาการของสพป.ปัตตานีเขต1 ณ วันที่ 30 กันยายน2563 ระบุว่า มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 26,439 คน ไม่มีภาวะทุพโภชนาการจำนวน 20,298 คน คิดเป็นร้อยละ 76.77 และมีภาวะทุพโภชนาการจำนวน 6,141 คน คิดเป็นร้อยละ 23.23 และข้อมูลจากโรงเรียนชุมชนบ้านตะลุโบะ จะเห็นว่า จำนวนนักเรียนทั้งหมด 342 คน ไม่มีภาวะทุพโภชนาการจำนวน 268 คน คิดเป็นร้อยละ 78.36 และมีภาวะทุพโภชนาการจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 21.64
ภาวะทุพโภชนาการ เป็นภาวะซึ่งเกิดขึ้นจากการรับประทานอาหารไม่สมดุลกัน โดยอาจมีสารอาหารบางอย่างได้รับไม่เพียงพอ เกิน หรือผิดสัดส่วน ผลอาจทำให้เกิดความผิดปกติทางโภชนาการต่าง ๆ อาทิเช่น เริ่มอ้วน อ้วน ผอม และเตี้ย ขึ้นอยู่กับว่าสารอาหารที่ได้รับนั้นขาดหรือเกิน
สาเหตุบางส่วนเกิดจากเด็กๆส่วนมากบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น น้ำอัดลม น้ำหวานจัด ขนมขบเคี้ยว แฮมเบอเกอร์ เฟรนฟราย ลูกอม หมากฝรั่ง อาหารทอดและอาหารจานด่วนบางชนิด พฤติกรรมการบริโภคอาหารขยะเป็นประจำเพราะหาซื้อได้ง่ายและกินง่าย ส่งผลให้ร่างกายขาดสารอาหารจำพวกโปรตีน วิตามิน เกลือแร่ที่จำเป็นต่อการทำงานของร่างกาย จนนำไปสู่ภาวะทุพโภชนาการและอาจเสี่ยงต่อภาวะการเป็นโรคหัวใจ ความดันโลหิตจาง โรคเบาหวาน และโรคไขข้อ
ดังนั้น โรงเรียนตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดทำ โครงการ "เด็กตาดีการู้เท่าทันโทษภัยอาหารขยะ" ในโรงเรียนตาดีกา เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการ สาธิต ลงมือทำอาหารที่มีประโยชน์แก่ครูและเด็กๆในโรงเรียนตาดีกา และพัฒนาให้เด็กเห็นคุณค่าของตนเองรู้จักเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ถูกหลักโภชนาการห่างไกลการบริโภคอาหารขยะเพื่อการเจริญเติบโตทั้งกายและความคิด
เมื่อครูตาดีกาและเด็กๆมีทักษะชีวิต เห็นคุณค่าในตนเอง รู้จักการเลือกกินอาหารที่เป็นประโยชน์ถูกหลักโภชนาการ การเจริญเติบโตทางร่างกาย ความคิด ก็จะเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของประเทศไทยภาวะทุพโภชนาการในพื้นที่จะลดลง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ครูและเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการที่ดี ประโยชน์และโทษของอาหารขยะ

ครู ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการ เด็ก  ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการ

0.00
2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์

เด็ก  ร้อยละ 80 มีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 165 31,400.00 4 31,400.00
27 เม.ย. 64 อบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการที่ดี 80 15,100.00 15,100.00
27 เม.ย. 64 กิจกรรมสาธิตและลงมือทำขนมเพื่อสุขภาพ 80 14,700.00 14,700.00
27 เม.ย. 64 ถอดบทเรียน 5 600.00 600.00
27 เม.ย. 64 จัดทำรายงานสรุปโครงการ 0 1,000.00 1,000.00

กิจกรรมประชุมคณะทำงาน - เพื่อวางแผนกิจกรรมภาพรวม
- แบ่งบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ - ประสานงานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย

กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ - เพื่อทำความเข้าใจโครงการและชี้แจงวันเวลาจัดกิจกรรม

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการที่ดี - สำรวจข้อมูลสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงแก่ผู้เข้าร่วม - คัดกรองประเมินภาวะสุขภาพ - ทำแบบประเมินก่อนอบรม - อบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการที่ดี - อบรมให้ความรู้เรื่องโทษภัยของอาหารขยะ

กิจกรรมสาธิตและลงมือทำขนมเพื่อสุขภาพ - วิทยากรสาธิตการทำขนมเพื่อสุขภาพและให้เด็กๆลงมือทำ - วิทยากรสาธิตการทำน้ำเพื่อสุขภาพและให้เด็กๆลงมือทำ - สรุปผลการเรียนรู้ - ทำแบบประเมินหลังอบรม

กิจกรรมถอดบทเรียน - ใช้เครื่องมือ ไทม์ไลน์กิจกรรม - After Action Review - สิ่งที่เกิดขึ้นและนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป

จัดทำรายงานสรุปโครงการ - เขียนรายงานสรุปส่งหน่วยงาน


วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) กิจกรรม/เดือน มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม เสนอโครงการ

กิจกรรมประชุมคณะทำงาน - เพื่อวางแผนกิจกรรมภาพรวม
- แบ่งบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ - ประสานงานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย

กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ - เพื่อทำความเข้าใจโครงการและชี้แจงวันเวลาจัดกิจกรรม

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการที่ดี - สำรวจข้อมูลสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงแก่ผู้เข้าร่วม - คัดกรองประเมินภาวะสุขภาพ - ทำแบบประเมินก่อนอบรม - อบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการที่ดี - อบรมให้ความรู้เรื่องโทษภัยของอาหารขยะ

กิจกรรมสาธิตและลงมือทำขนมเพื่อสุขภาพ - วิทยากรสาธิตการทำขนมเพื่อสุขภาพและให้เด็กๆลงมือทำ - วิทยากรสาธิตการทำน้ำเพื่อสุขภาพและให้เด็กๆลงมือทำ - สรุปผลการเรียนรู้ - ทำแบบประเมินหลังอบรม

กิจกรรมถอดบทเรียน - ใช้เครื่องมือ ไทม์ไลน์กิจกรรม - After Action Review - สิ่งที่เกิดขึ้นและนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป

จัดทำรายงานสรุปโครงการ - เขียนรายงานสรุปส่งหน่วยงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ครูและเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการที่ดี ประโยชน์และโทษของอาหารขยะ
  2. เด็กมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
  3. เด็กมีทักษะชีวิต เห็นคุณค่าในชีวิตตนเอง มีแผนการดำเนินชีวิตที่ดี
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 เม.ย. 2564 14:14 น.