กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ กำจัดเหาในนักเรียนด้วยสมุนไพรไทย ปีงบประมาณ 2564
รหัสโครงการ 64-L2530-101
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไอยามู
วันที่อนุมัติ 7 เมษายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 30,541.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางแฉล้ม เพ็ชรนิล
พี่เลี้ยงโครงการ นายสหัฐ มะดาแฮ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกียร์ อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 210 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครอง สามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง เครื่องนอน เพื่อรักษา และป้องกันโรคเหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการเยี่ยมบ้านติดตามการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง เครื่องนอน ร้อยละ 50

0.00
2 เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับปรุงใช้ให้เกิดประโยชน์ ลดการใช้สารเคมี และช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย

นักเรียนได้รับการรักษาเหาด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ร้อยละ 100

0.00
3 เพื่อให้นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการรักษาจนหายขาดเป็นการกำจัดแหล่งแพร่กระจายโรคเหา

จำนวนนักเรียนที่เป็นเหาได้รับการรักษาจนหายขาด ร้อยละ100

0.00
4 เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหาในนักเรียนรายใหม่

จำนวนนักเรียนที่เป็นเหารายใหม่ลดลง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครอง สามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง เครื่องนอน เพื่อรักษา และป้องกันโรคเหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับปรุงใช้ให้เกิดประโยชน์ ลดการใช้สารเคมี และช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการรักษาจนหายขาดเป็นการกำจัดแหล่งแพร่กระจายโรคเหา

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหาในนักเรียนรายใหม่

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 1. อบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครองเรื่องการกำจัดเหาและสาธิตการทำน้ำยากำจัดเหาโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น 24,841.00 -
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 ๒.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียนติดตามผลการรักษา 5,700.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

ขั้นเตรียมการ 1. รวบรวมฐานข้อมูลนักเรียนทั้งสองโรงเรียน 2. ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไอยามู เพื่อทราบแนวทางการดำเนินโครงการ         3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกลุ่มเป้าหมาย
ขั้นดำเนินการ
        1.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำน้ำยากำจัดเหาภูมิปัญญาท้องถิ่น         2.สาธิตการทำน้ำยากำจัดเหาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้แก่นักเรียนและผู้ปกครองที่เข้าร่วมอบรม         3.ทำการกำจัดเหาในเด็กนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายโดยการนำน้ำยาสกัด ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก และลูกมะกรูด ที่เตรียมไว้สระผมให้ทั่ว แล้วสวมหมวกพลาสติกหมักไว้ประมาณ 1 ชั่วโมงจึงล้างออกฟอกด้วยยาสระผมอีกครั้งใช้ หวีเสนียดสางเอาตัวและไข่เหาออก ข้อควรระวังอย่าให้น้ำยาที่ใช้เข้าตาเพราะจะทำให้แสบตา ทำเช่นนี้ทุกวันติดต่อกันเป็นเวลา 3 วัน
        4.ให้ความรู้และคำแนะนำเด็กนักเรียนในการดูแลรักษาความสะอาด ที่อยู่อาศัย ผ้าห่ม หมอน ที่นอน ผ้าเช็ดตัว การสระผมและการทำความสะอาดร่างกาย การใช้เครื่องใช้แยกกัน เช่น ผ้าเช็ดตัว หวี เป็นต้น
        5.ครูประจำชั้นและครูผู้รับผิดชอบอนามัยโรงเรียน ดูแล ติดตาม พฤติกรรมการรักษาความสะอาดของเด็กนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ จนกระทั่งนักเรียนปลอดเหาและไม่กลับมาเป็นอีก         6.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียนติดตามผลการรักษาในนักเรียนที่เป็นเหาสัปดาห์ละ ๑ ครั้ง เป็นเวลา ๔ สัปดาห์
        7.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน ครูประจำชั้นและครูผู้รับผิดชอบอนามัยโรงเรียน สุ่มตรวจเยี่ยมบ้านนักเรียนที่เป็นเหา         8.สรุปผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองและนักเรียนสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง และเครื่องนอนได้ถูกต้อง
2.นักเรียนและผู้ปกครองสามารถนำสมุนไพรท้องถิ่นมาใช้ในการกำจัดเหาได้
3.นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการรักษาจนหายขาด 4.ไม่มีการเกิดเหาในนักเรียนรายใหม่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 เม.ย. 2564 00:00 น.