กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอก ใหม่ ครั้งที่ 2
รหัสโครงการ 64-L4117-5-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.บาละ
วันที่อนุมัติ 3 พฤษภาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนูรือมา ลายามุง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.351701,101.123431place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 3 พ.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 100,000.00
รวมงบประมาณ 100,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 500 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 3000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 300 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด -19 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้ โรคไวรัสโคโรนา 2019หรือ COVID-19 เป็นโรคติดต่ออันตราย ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากและในช่วงเดือนธันวาคม2564 เริ่มมีการระบาดของโรคนี้เกิดขึ้นระลอกใหม่ พบผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นทุกวัน ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง การเฝ้าระวังและการป้องกันที่ถูกต้อง เช่น การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกวิธี การสวมหน้ากากอนามัย และการเว้นระยะห่างทางสังคม เป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะทำให้ปลอดภัยจากการรับเชื้อผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่ เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) มาตรการที่สำคัญคือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสภาพที่แออัด หรือมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือ ดังนั้น เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงการป้องกันตนเองโดยการล้างมือเพื่อป้องกันโรค ไม่เฉพาะโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาด หรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลบาละ เพื่อเป็นการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลบาละ

 

90.00 99.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 100,000.00 1 100,000.00
3 พ.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 วัสดุอุปกรณ์สำหรับการดำเนินการป้องกันการแพร่เชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) 0 100,000.00 100,000.00

1.ดำเนินการเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
2.ติดตามสถานการณ์และรวบรวมข้อมูล
3.ติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4.ประชุมเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการป้องกันและควบคุมสถานการณ์ การเกิดภาวะ ฉุกเฉินทางสุขภาพ 5.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และเวชภัณฑ์ให้เพียงพอในการป้องกันและควบคุมโรค
6.ติดตามผู้ที่เดินทางจากพื้นที่เสี่ยง ให้มีการกักตัว ๑๔ วัน ในพื้นที่สีแดง และดูแลต้นเองในพื้นที่อื่นๆทุกจังหวัด
7.ผู้ที่เดินทางมาจากต่างจังหวัด ให้มีการกักตัว 14 วัน ณ โรงเรียนบ้านลาแล ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา โดยเบิกค่าใช้จ่ายจากงบสปสช.อบต.บาละจากโครงการควบคุมและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอก ใหม่ ครั้งที่2
8.ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดความสำเร็จ
9.สรุปปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด 19
  2. ผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด 19 ได้รับการกักตัว 100 %
  3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 พ.ค. 2564 14:24 น.