กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพประมงและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมารณ 2564

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพประมงและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมารณ 2564
รหัสโครงการ L7886/2564/1/6
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง
วันที่อนุมัติ 1 กรกฎาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2564 - 28 ธันวาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 14,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2564 28 ธ.ค. 2564 14,800.00
รวมงบประมาณ 14,800.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เครือข่ายมีความรู้และทักษะในการดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพประมง
80.00
2 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพประมง
1.00
3 ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       งานประมงทะเลเป็นงานที่มีความเสี่ยงสูงมี่จะก่อให้เกิดโรคและอันตรายต่อสุขภาพ ข้อมูลจากองค์การแรงงานระหว่าประเทศระบุว่า แรงงานประมงทะเลประสบอุบัติเหตุจากการทำงาน จำนวน 24 ล้านคนต่อปี โดยพบแรงงานประมงเสียชีวิตจากการทำงาน 24,000 ต่อปี ในประเทศไทยมีการสำรวจสถิติการเกิดโรคและการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพประมงของคนไทย พบว่า ปี พ.ศ. 2559 มีการเสียชีวิตจากลูกเรือประมง 5 ราย และบาดเจ็บในรูปแบบต่างๆ เช่นปลาตำ ลื่นล้ม ถูกของมีคม เชือกบาดมือ ตกจากที่สูง จำนวน 26 ราย แรงงานประมงจึงมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและภัยสุขภาพ ทั้งทางด้านกายภาพเช่นการสั่นสะเทือน ความร้อน ความเย็น แสง สี เสียง  ด้านเคมี เช่นไอน้ำมัน สารตะกั่ว และก๊าซไข่เน่า และชีวภาพเช่น เลือด น้ำลาย มูลและพิษของสัตว์ เงี่ยงปลา ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพของชาวประมงทั้งทางตรงและทางอ้อม  โดยสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคและอันตรายต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดโรค หรืออันตราย
      จากการสำรวจข้อมูลการประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น จำนวน 759 ครัวเรือน พบว่าทำอาชีพประมง จำนวน 300 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 39.52 และมีสถานประกอบการ เช่น แพปลา อู่ต่อเรือ มีการจับสัตว์น้ำตามฤดูกาล ซึ่งมีความเสียงที่จะเกิดโรค อันตรายหรืออุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพและสภาพแวดล้อมจากการทำงานค่อนข้างมาก เช่นการออกเรือในช่วงมรสุม การจับสัตว์น้ำ โดยที่ไม่ได้สวมใส่ถุงมือหรืออุปกรณ์ที่ถูกต้อง การสัมผัสสารเคมี การสร้างหรือการซ่อมเรือ การเกิดอุบัติเหตุ การบาดเจ็บฯลฯ และจากข้อมูลการมารับบริการในสถานบริการ ปี2562 พบว่า ผู้ที่ได้รับการผลกระทบจากการประกอบอาชีพและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน จำนวน 91 รายโดยรับบริการ ทำแผลจำนวน 13 ราย แมงกะพรุนเข้าตาจำนวน 9 ราย ผื่นคัน15 ราย สัมผัสสารเคมี 2 ราย การซ่อมเรือ จำนวน 2 ราย ปวดกล้ามเนื้อจำนวน 50 ราย จากข้อมูลดังกล่าวหากไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาก็จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนทั้งทางตรงและทางอ้อม       ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ได้เล็งเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพประมง เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคและอันตรายต่อสุขภาพและส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพในการประกอบอาชีพ และสภาพแวดล้อมในการทำงานที่เหมาะสม ถูกต้อง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพประมงและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕64 โดยมีกิจกรรมอบรมให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติตนในการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอันตราย การคัดกรองความเสี่ยงต่อสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและการเกิดโรคและอันตรายต่อสุขภาพและสภาพแวดล้อมจากการทำอาชีพประมงต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เครือข่ายมีความรู้และทักษะในการดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพประมง

จำนวนกลุ่มเป้าหมาย ที่เข้ารับการอบรมอย่างน้อยร้อยละ 80

80.00 1.00
2 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพประมง

1.มีทะเบียนผู้ประกอบอาชีพประมง 2.มีแผนการเฝ้าระวังป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพประมง

1.00 1.00
3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ

1.ผลการคัดกรองสุขภาพ 2.ชมรมการออกกำลังกายในชุมชน

100.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 14,800.00 2 14,800.00
1 ก.ค. 64 - 30 ส.ค. 64 สำรวจข้อมูลพื้นฐานการทำอาชีพประมง 0 0.00 0.00
1 ก.ค. 64 - 30 ส.ค. 64 อบรมให้ความรู้เรื่องโรคจากการประกอบอาชีพประมงและการเฝ้าระวังป้องกันโรคและสภาพ แวดล้อมจากการทำงาน 0 14,800.00 14,800.00

กิจกรรมที่ 1. สำรวจข้อมูลพื้นฐานการทำอาชีพประมง กิจกรรมที่ 2. อบรมให้ความรู้ดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันโรคและสิ่งแวดล้อมจากการประกอบอาชีพประมง กิจกรรมที่ 3. จัดทำแผนพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันโรคและสิ่งแวดล้อมจากการประกอบอาชีพประมง
กิจกรรมที่ 4. ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 4อ.

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) งานประมงทะเลเป็นงานที่มีความเสี่ยงสูงมี่จะก่อให้เกิดโรคและอันตรายต่อสุขภาพ ข้อมูลจากองค์การแรงงานระหว่าประเทศระบุว่า แรงงานประมงทะเลประสบอุบัติเหตุจากการทำงาน จำนวน 24ล้านคนต่อปี โดยพบแรงงานประมงเสียชีวิตจากการทำงาน 24,000 ต่อปี ในประเทศไทยมีการสำรวจสถิติการเกิดโรคและการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพประมงของคนไทย พบว่าปี พ.ศ.2559 มีการเสียชีวิตจากลูกเรือประมง 5 ราย และบาดเจ็บในรูปแบบต่างๆ เช่นปลาตำ ลื่นล้มถูกของมีคม เชือกบาดมือตกจากที่สูง จำนวน 26 ราย แรงงานประมงจึงมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและภัยสุขภาพ ทั้งทางด้านกายภาพเช่นการสั่นสะเทือนความร้อนความเย็นแสงสีเสียง ด้านเคมี เช่นไอน้ำมัน สารตะกั่ว และก๊าซไข่เน่า และชีวภาพเช่น เลือดน้ำลายมูลและพิษของสัตว์เงี่ยงปลาทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพของชาวประมงทั้งทางตรงและทางอ้อมโดยสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคและอันตรายต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดโรค หรืออันตราย
จากการสำรวจข้อมูลการประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น จำนวน 759 ครัวเรือน พบว่าทำอาชีพประมง จำนวน 300 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 39.52 และมีสถานประกอบการ เช่น แพปลา อู่ต่อเรือ มีการจับสัตว์น้ำตามฤดูกาล ซึ่งมีความเสียงที่จะเกิดโรค อันตรายหรืออุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพและสภาพแวดล้อมจากการทำงานค่อนข้างมาก เช่นการออกเรือในช่วงมรสุม การจับสัตว์น้ำ โดยที่ไม่ได้สวมใส่ถุงมือหรืออุปกรณ์ที่ถูกต้อง การสัมผัสสารเคมี การสร้างหรือการซ่อมเรือ การเกิดอุบัติเหตุ การบาดเจ็บฯลฯ และจากข้อมูลการมารับบริการในสถานบริการ ปี2562 พบว่า ผู้ที่ได้รับการผลกระทบจากการประกอบอาชีพและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน จำนวน 91รายโดยรับบริการ ทำแผลจำนวน 13 ราย แมงกะพรุนเข้าตาจำนวน 9 ราย ผื่นคัน15รายสัมผัสสารเคมี2 ราย การซ่อมเรือจำนวน 2 ราย ปวดกล้ามเนื้อจำนวน 50 ราย จากข้อมูลดังกล่าวหากไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาก็จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนทั้งทางตรงและทางอ้อม ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลังอำเภอเมืองจังหวัดสตูล ได้เล็งเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพประมง เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคและอันตรายต่อสุขภาพและส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพในการประกอบอาชีพ และสภาพแวดล้อมในการทำงานที่เหมาะสม ถูกต้อง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพประมงและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน ตำบลเจ๊ะบิลังอำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕64โดยมีกิจกรรมอบรมให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติตนในการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอันตราย การคัดกรองความเสี่ยงต่อสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและการเกิดโรคและอันตรายต่อสุขภาพและสภาพแวดล้อมจากการทำอาชีพประมงต่อไป

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 พ.ค. 2564 00:00 น.