กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพประมงและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมารณ 2564

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       งานประมงทะเลเป็นงานที่มีความเสี่ยงสูงมี่จะก่อให้เกิดโรคและอันตรายต่อสุขภาพ ข้อมูลจากองค์การแรงงานระหว่าประเทศระบุว่า แรงงานประมงทะเลประสบอุบัติเหตุจากการทำงาน จำนวน 24 ล้านคนต่อปี โดยพบแรงงานประมงเสียชีวิตจากการทำงาน 24,000 ต่อปี ในประเทศไทยมีการสำรวจสถิติการเกิดโรคและการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพประมงของคนไทย พบว่า ปี พ.ศ. 2559 มีการเสียชีวิตจากลูกเรือประมง 5 ราย และบาดเจ็บในรูปแบบต่างๆ เช่นปลาตำ ลื่นล้ม ถูกของมีคม เชือกบาดมือ ตกจากที่สูง จำนวน 26 ราย แรงงานประมงจึงมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและภัยสุขภาพ ทั้งทางด้านกายภาพเช่นการสั่นสะเทือน ความร้อน ความเย็น แสง สี เสียง  ด้านเคมี เช่นไอน้ำมัน สารตะกั่ว และก๊าซไข่เน่า และชีวภาพเช่น เลือด น้ำลาย มูลและพิษของสัตว์ เงี่ยงปลา ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพของชาวประมงทั้งทางตรงและทางอ้อม  โดยสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคและอันตรายต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดโรค หรืออันตราย
      จากการสำรวจข้อมูลการประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น จำนวน 759 ครัวเรือน พบว่าทำอาชีพประมง จำนวน 300 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 39.52 และมีสถานประกอบการ เช่น แพปลา อู่ต่อเรือ มีการจับสัตว์น้ำตามฤดูกาล ซึ่งมีความเสียงที่จะเกิดโรค อันตรายหรืออุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพและสภาพแวดล้อมจากการทำงานค่อนข้างมาก เช่นการออกเรือในช่วงมรสุม การจับสัตว์น้ำ โดยที่ไม่ได้สวมใส่ถุงมือหรืออุปกรณ์ที่ถูกต้อง การสัมผัสสารเคมี การสร้างหรือการซ่อมเรือ การเกิดอุบัติเหตุ การบาดเจ็บฯลฯ และจากข้อมูลการมารับบริการในสถานบริการ ปี2562 พบว่า ผู้ที่ได้รับการผลกระทบจากการประกอบอาชีพและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน จำนวน 91 รายโดยรับบริการ ทำแผลจำนวน 13 ราย แมงกะพรุนเข้าตาจำนวน 9 ราย ผื่นคัน15 ราย สัมผัสสารเคมี 2 ราย การซ่อมเรือ จำนวน 2 ราย ปวดกล้ามเนื้อจำนวน 50 ราย จากข้อมูลดังกล่าวหากไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาก็จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนทั้งทางตรงและทางอ้อม       ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ได้เล็งเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพประมง เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคและอันตรายต่อสุขภาพและส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพในการประกอบอาชีพ และสภาพแวดล้อมในการทำงานที่เหมาะสม ถูกต้อง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพประมงและสภาพแวดล้อมจากการทำงาน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕64 โดยมีกิจกรรมอบรมให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติตนในการเฝ้าระวังป้องกันโรคและอันตราย การคัดกรองความเสี่ยงต่อสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและการเกิดโรคและอันตรายต่อสุขภาพและสภาพแวดล้อมจากการทำอาชีพประมงต่อไป

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ