กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด หมู่ที่ 2 ต.เจ๊ะบิลัง ประจำปีงบประมาณ 2564

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ด้วยสถานการณ์ COVID-19 ในปี 2563 ที่มีการติดเชื้อในประเทศ จำนวน 35,95 ราย และเสียชีวิต จำนวน 59 ราย (ที่มา HDC ณ.วันที่ 3 พ.ย. 63) ผู้ที่เสียชีวิตส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว เช่น ผู้สูงอายุ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ เป็นต้น ประกอบช่วงระบาดของโรค COVID-19 ทางรัฐบาลใช้มาตรการ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” ประชาชนมีพฤติกรรมอยู่ที่บ้าน ทำให้มีการออกกำลังกายน้อยลง รับประทานอาหารมากขึ้น จึงเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (DM) และโรคความดันโลหิตสูง (HT) ซึ่งเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม และที่สำคัญหากปล่อยให้กลุ่มเสี่ยงเหล่านี้ เป็นโรคดังกล่าวข้างต้น เมื่อได้รับเชื้อ COVID-19 จะมีโอกาสเสียชีวิตสูง สถานการณ์ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง ปีงบประมาณ 2562 และ 2563 พบผู้ป่วย จำนวน 63 คน และ 120 คน ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน 23 คน และ 49 คน ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้น จากผลการดำเนินงานคัดกรองค้นหาผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และการคัดกรองเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ในปีงบประมาณ 2563 (ที่มา HDC สตูล 30 กันยายน 63 ) พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง (ค่าควานดันโลหิต sbp >= 130 ถึง < 140 mmHg หรือ dbp มีค่า >= 85 ถึง < 90 mmHg) จำนวน 47 คน และกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง (ค่าควานดันโลหิต sbp มีค่า >= 140 ถึง < 180 mmHg หรือ dbp มีค่า >= 90 ถึง < 110 mmHg) จำนวน 13 คน และพบกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน จำนวน 60 คน รวมทั้งสิ้น 120 คน ซึ่งในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยหากได้รับการให้ความรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพ ไม่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานต่อไป จากสภาพปัญหาดังกล่าวชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง ได้จัดทำโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในการดูแลตนเองในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน ในคลินิกของหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ จากโรค

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ