กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้ป่วยโรคอื่นๆ เขต อบต.ท่าพุทรา เพื่อเข้าถึงบริการสาธารณสุข และปลอดภัยจากโรคติดเชื้อโควิด-19 (COVID-19)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้ป่วยโรคอื่นๆ เขต อบต.ท่าพุทรา เพื่อเข้าถึงบริการสาธารณสุข และปลอดภัยจากโรคติดเชื้อโควิด-19 (COVID-19)
รหัสโครงการ L044725642002
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลท่าพุทรา
วันที่อนุมัติ 12 พฤศจิกายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 11,625.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลท่าพุทรา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าพุทรา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร
ละติจูด-ลองจิจูด 16.30069863,99.66831207place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
31.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
26.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

31.00 27.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

26.00 23.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยโรคอื่นๆ ได้รับการประเมินสุขภาพเบื้องต้น
  2. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยโรคอื่นๆ เกิดการปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
  3. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยโรคอื่นๆ ได้เข้าถึงบริการสาธารณสุขในชุมชนและได้รับยาต่อเนื่อง

โดยมีตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการคือร้อยละของผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรงเป็นการรักษาต่อเนื่องและสามารถดูแลได้ที่บ้าน ที่เข้าร่วมโครงการมีความดันโลหิตและสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 10%

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 พ.ค. 2564 15:49 น.