กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านสวน
รหัสโครงการ 64-L3325-3-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวนสังกัด เทศบาลตำบลบ้านสวน
วันที่อนุมัติ 8 มิถุนายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 28 มิถุนายน 2564 - 31 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2564
งบประมาณ 12,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนนทิชา เลื่อนจันทร์
พี่เลี้ยงโครงการ นางสมทรง ประยูรวงศ์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 84 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 84 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย
15.00
2 ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์
10.00
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม
20.00
4 ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
5.00
5 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
10.00
6 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม
8.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต แต่ในปัจจุบันเด็กในวัยเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยง ทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วงทั้งนี้เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหารพืชผักและผลไม้ที่ไม่ปลอดภัย ทำให้มีการสะสมสารพิษในร่างกายเป็นระยะเวลานานอาจก่่อให้เกิดมลภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย และการเกิดโรคชนิดต่าง ๆ ได้ ปัญหาภาวะทุพโภชนาการและความเจ็บป่วยโดยไม่จำเป็นและปัญหาอื่น ๆ ในบริบทของสังคมไทยที่ส่งผลกระทบต่อเด็ก ทั้งทางตรงและทางอ้อมซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาว แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องใช้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย การส่งเสริมกิจกรรมที่มีความหลากหลายควบคู่กันไปจะช่วยสร้างโอกาสให้สุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพที่ดีขึ้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านสวน เห็นความสำคัญของเด็กเล็กจึงได้จัดทำโครงการปลูกผักปลอดสารพิษในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการกินผักให้เด็กเล็กได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ

ร้อยละ 100 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวนได้รับการกินผักที่ปลอดสารพิษตกค้าง

23.00 100.00
2 เพื่อให้เด็กเล็กมีทัศนคติและจิตสำนึกที่ดีต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรมและการดำเนินชีวิตวิถีไทย

ร้อยละ 100 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวน มีทัศนคติและจิตสำนึกที่ดีต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรมและการดำเนินชีวิตวิถีไทย

23.00 100.00
3 เพื่อเพิ่มพื้นที่ปลุกผักปลอดสารพิษในศุนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลบ้านสวน

มีพื้นที่ปลูกผักเพิ่มขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลบ้านสวน  จำนวน 1 แปลง

0.00 1.00
4 เพื่่อลดสารเคมีตกค้างในผักที่ปลูก

เพื่อลดสารเคมีตกค้างในผักที่ปลูก  ร้อยละ 100

0.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 12,600.00 4 12,230.00
29 มิ.ย. 64 ประชุมวางแผนคณะทำงานประกอบด้วยครู ศพด. แม่ครัวและภาคีเครือข่ายผู้ปกครองเด็ก 0 500.00 500.00
5 ก.ค. 64 กิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อนำมาใช้ปรุงอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ 0 7,350.00 7,180.00
5 ก.ค. 64 กิจกรรมการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักสำหรับใช้ในการปลูกผัก 0 4,550.00 4,550.00
20 ส.ค. 64 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคตามกลุ่มวัย 0 0.00 -
15 ต.ค. 64 ถอดบทเรียนและสรุปโครงการ คืนข้อมูล 0 200.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • ครู ผู้ดูแลเด็ก บุคลากรทางการศึกษาและเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ
  • เด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษสามารถนำมาประกอบอาหารได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ค. 2564 00:00 น.