กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) และ Antibody (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 5) ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุภาภรณ์ บุญพงษ์มณี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) และ Antibody (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 5)

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64 – L7452 – 5 – 5 เลขที่ข้อตกลง 26-2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) และ Antibody (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 5) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) และ Antibody (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 5)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) และ Antibody (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 5) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64 – L7452 – 5 – 5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,106,760.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ผู้ติดเชื้อสะสมและผู้ติดเชื้อรายใหม่ซึ่งเป็นการติดเชื้อในประเทศได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และการระบาดระลอก 3 (เดือนเมษายน 2564) นี้ ได้แพร่กระจายออกไปหลายพื้นที่ค่อนข้างรวดเร็ว รัฐบาลโดยข้อเสนอของศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรณีโรคติดเชื้อโควิด- 19 จึงมีความจำเป็นต้องเพิ่มเติมการบังคับใช้มาตรการควบคุมแบบบูรณาการที่จำเป็นอย่างเร่งด่วน รวมทั้งปรับระดับพื้นที่สถานการณ์ในจังหวัดที่ตรวจพบการระบาดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและพื้นที่ควบคุมเพื่อให้พนักงานและเจ้าหน้าที่สามารถที่สามารถดำเนินการสกัดกั้นและระงับยับยั้งสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงทีอาศัยตามความมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 และมาตรา 11 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ 2534(COVID-19) และมีคำสั่งบริหารสถานการณ์โควิด –19จังหวัดยะลา ที่ 15/2564 สั่ง ณ วันที่ 17 เมษายน พ.ศ.2564 จากสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย ตั้งแต่ วันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 18 เมษายน 2564ผู้ป่วยรายใหม่ 1,767 ราย ผู้ป่วยยืนยันสะสม 42,352 เสียชีวิต 101 ราย ส่วนในจังหวัดยะลา ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน-18 เมษายน 2564มีผู้ป่วยสะสม 7 ราย ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ซึ่งปัจจุบันผู้ป่วยได้แพร่กระจายไปยังพื้นที่ต่างๆ เพิ่มมากขึ้น และสืบเนื่องจากอุปกรณ์ไม่เพียงพอในการตรวจคัดกรอง มีความจำเป็นที่ต้องสำรองใช้ในยามขาดแคลนและจำเป็นเร่งด่วน อาศัยตามอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2496 มาตราที่ 50ข้อที่ 4 (ป้องกันและระงับโรคติดต่อ) ในการคัดกรองตรวจเชื้อแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่จังหวัดยะลา ที่เดินทางมาจากพื้นที่ควบคุมสูงสุด จำนวน 18 จังหวัด เช่น กรุงเทพ เชียงใหม่ ชลบุรี สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร ปทุมธานีนครปฐม ภูเก็ต นครราชสีมาสงขลา นนทบุรี ตาก อุดรธานีสุพรรณบุรี สระแก้ว ระยอง ขอนแก่น และบุคคลที่สัมผัสกับคนติดเชื้อ หรือคนที่มีอาการ ไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ เป็นต้น เพื่อลดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ ครอบครัว ชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง เป็นการตอบโต้ต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สร้างความเชื่อมั่นและความปลอดภัยแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง ในเขตเทศบาลนครยะลาต่อไป ดังนั้น กลุ่มงานป้องกันและควบคุมโรค สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา จึงได้จัดทำ โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) และ Antibody (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มเสี่ยงที่มาจากพื้นที่ควบคุม และบุคคลที่สัมผัสกับคนติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID – 19) หรือมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอได้รับการคัดกรองตรวจเชื้อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองตรวจเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดย Antigen (Rapid Test)และ Antibody (Rapid Test) ในประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มาจากพื้นที่ควบคุม บุคคลที่สัมผัสกับคนติดเชื้อ หรือมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประชาชนในกลุ่มเสี่ยงที่มาจากพื้นที่ควบคุม ได้รับตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) และ Antibody (Rapid Test) และปะชาชนที่สัมผัสกับคนติดเชื้อ หรือมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ
2. ลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ในเขตเทศบาลนครยะลา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มเสี่ยงที่มาจากพื้นที่ควบคุม และบุคคลที่สัมผัสกับคนติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID – 19) หรือมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอได้รับการคัดกรองตรวจเชื้อ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ80ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID–19) โดย Antigen (Rapid Test) และ Antibody (Rapid Test) 2. ร้อยละ 90 ประชาชนมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 5000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มเสี่ยงที่มาจากพื้นที่ควบคุม และบุคคลที่สัมผัสกับคนติดเชื้อไวรัส        โคโรนา 2019 (COVID – 19) หรือมีอาการไข้ ไอ    มีน้ำมูก เจ็บคอได้รับการคัดกรองตรวจเชื้อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองตรวจเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดย Antigen (Rapid Test)และ Antibody (Rapid Test) ในประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มาจากพื้นที่ควบคุม บุคคลที่สัมผัสกับคนติดเชื้อ หรือมีอาการไข้ ไอ      มีน้ำมูก เจ็บคอ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) และ Antibody (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 5) จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64 – L7452 – 5 – 5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุภาภรณ์ บุญพงษ์มณี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด