กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการเพื่อชีวิตสดใสวัยผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางยุพินสาเมาะ, นางสาวมาสนาซีบะ

ชื่อโครงการ โครงการเพื่อชีวิตสดใสวัยผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 003/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเพื่อชีวิตสดใสวัยผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อชีวิตสดใสวัยผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเพื่อชีวิตสดใสวัยผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 003/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากผู้สูงอายุนับว่าเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถมีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพซึ่งความรู้และประสบการณ์ดังกล่าวที่ได้สะสมมายาวนานตลอดเกือบอายุสามารถนำมาถ่ายทอดให้คำปรึกษา คำแนะแก่บุคคลรุ่นหลังได้ อีกทั้งยังเป็นศูนย์รวมจิตใจของครอบครัวชุมชนและจากการเปลี่ยนแปลงทางบริบทสังคมต่างๆส่งผลให้ผู้สูงอายุมีการปรับตัวค่อนข้างยากการดูแลผู้สูงอายุทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจจึงเป็นเรื่องที่สำคัญที่ทุกส่วนควรร่วมมือกันอย่างต่อเนื่องเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองการดูแลซึ่งกันและกันในกลุ่ม
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความเข้าใจปฏิบัติตน เพื่อลดภาวะการเกิดโรค
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความตื่นตัว มีส่วนร่วมในชุมชนดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรงเพื่อฟื้นฟูสภาพจิตใจที่ผู้สูงอายุโดยส่วนใหญ่มักจะรู้สึกว่าตนเองไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่
  4. เพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดทัศนคติที่ดีและสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 100
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีกลุ่มผู้สูงอายุเขตโรงพยาบาลในตำบลกะรุบี จำนวน 1 กลุ่ม
    2. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เช่น การออกกำลังกายที่เหมาะสม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ จำนวน 2 ครั้ง

    วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องสุขภาพ 2.  ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการบริหารร่างกาย และการออกกำลังกาย 3.  ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน 4.  ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองความดันโลหิต 5.  ผู้สูงอายุได้รับความรู้เรื่องศาสนากับชีวิตประจำวัน

     

    126 126

    2. จัดตั้งกลุ่มผู้สูงอายุเขตโรงพยาบาลกะพ้อ และออกเยี่ยมเยียนสมาชิกในกลุ่ม

    วันที่ 1 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การลงเยี่ยมผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ ทำให้ผู้สูงอายุ และคนในครอบครัวเกิดความรู้สึกดีใจ ที่สังคมยังเห็นคุณค่าในตัวเอง การมอบของเยี่ยมทำให้ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตประจำวันลงได้บางส่วน ซึ่งการลงเยี่ยมในแต่ละครั้ง นอกจากชมรม อสม.ในพื้นที่แล้ว ยังมีผู้นำหมู่บ้าน ผู้นำศาสนา อบต. ร่วมกันลงพื้ันที่ พบปะพูดคุย ให้ทราบถึงปัญหาต่าง ๆ ที่พอจะมีแนวทางแก้ไขเพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อน หรือความทุกข์ใจได้บางส่วน ซึ่งเป็นผลดีกับทุกๆฝ่าย อีกทั้งโครงการนี้ยังเป็นจุดเริ่มต้นของการรวมกลุ่มในผู้สูงอายุในพื้นที่

     

    126 170

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. มีกลุ่มผู้สูงอายุเขตโรงพยาบาลในตำบลกะรุบี จำนวน 1 กลุ่ม
    2. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เช่น การออกกำลังกายที่เหมาะสม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองการดูแลซึ่งกันและกันในกลุ่ม
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองการดูแลซึ่งกันและกันในกลุ่ม มากขึ้นร้อยละ 50
    0.00

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความเข้าใจปฏิบัติตน เพื่อลดภาวะการเกิดโรค
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความเข้าใจปฏิบัติตน เพื่อลดภาวการณ์เกิดโรค ได้มากขึ้นร้อยละ 50
    0.00

     

    3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความตื่นตัว มีส่วนร่วมในชุมชนดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรงเพื่อฟื้นฟูสภาพจิตใจที่ผู้สูงอายุโดยส่วนใหญ่มักจะรู้สึกว่าตนเองไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความตื่นตัว มีส่วนร่วมในชุมชนดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรงเพื่อฟื้นฟูสภาพจิตใจ เพิ่มขึ้นร้อยละ 50
    0.00

     

    4 เพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดทัศนคติที่ดีและสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุเกิดทัศนคติที่ดีและสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 100
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองการดูแลซึ่งกันและกันในกลุ่ม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความเข้าใจปฏิบัติตน เพื่อลดภาวะการเกิดโรค (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความตื่นตัว มีส่วนร่วมในชุมชนดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรงเพื่อฟื้นฟูสภาพจิตใจที่ผู้สูงอายุโดยส่วนใหญ่มักจะรู้สึกว่าตนเองไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดทัศนคติที่ดีและสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเพื่อชีวิตสดใสวัยผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 003/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางยุพินสาเมาะ, นางสาวมาสนาซีบะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด