กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายแอโรบิคเพื่อสุขภาพ
รหัสโครงการ 64 -L3365-01-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ เทศบาลตำบลอ่างทอง
วันที่อนุมัติ 21 พฤษภาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจริญา บุญมี
พี่เลี้ยงโครงการ นางกานต์สินี หนูแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลอ่างทอง อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
60.00
2 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
55.00
3 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
30.00
4 ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายเช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน
59.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากสังคมได้เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน์ จากสภาพสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและสภาพแวดล้อม ทำให้หลายๆ คนมองข้ามการออกำลังกาย หลายคนอ้างไม่มีเวลา บางคนเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถในการใช้ชีวิตประจำวันเป็นการ  ออกกำลังกาย จึงเป็นสาเหตุต้นๆ ที่ทำให้สุขภาพอ่อนแอลงและอาจจะประสบปัญหาการเจ็บป่วยต่างๆ ตามมา เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน และอื่นๆอีกมากมาย ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่างๆ    ที่มีความสะดวกสบาย ทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบัน เปลี่ยนแปลงไป ประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลง ทำให้สุขภาพร่างกายของประชาชนในปัจจุบันแย่ลงจากเดิม วัดได้จากสภาวะสุขภาพที่ดี คนที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  เพิ่มมากขึ้น โรคอ้วนลงพุงเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณะสุขที่สำคัญของประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรม  ไม่ออกกำลังกายและพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าหากประชาชนได้รับการแนะนำการออกกำลังกายที่ถูกวิธีและสม่ำเสมอก็สามารถลดปัญหาและส่งเสริมสุขภาพกายและ ใจได้ดี มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุขทั้งทางรางกาย จิตใจ สังคม อารมณ์และสติปัญญา โดยให้ประชาชนสามารถดูแลและสร้างภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดี และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ดังนั้น จึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

60.00 65.00
2 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

55.00 60.00
3 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

30.00 35.00
4 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

59.00 65.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
19 ก.ค. 64 ประชุมผู้เข้าร่วมโครงการ 0 0.00 2,700.00
0 0.00 1 2,700.00
19 ก.ค. 64 - 14 ส.ค. 65 ออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิค 40 0.00 15,500.00
40 0.00 1 15,500.00
19 ก.ค. 64 วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว 0 0.00 900.00
0 0.00 1 900.00
14 ส.ค. 65 วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว 0 0.00 900.00
0 0.00 1 900.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีสุขภาพดี
  2. ประชาชนเห็นความสำคัญของการส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม
  3. ประชาชนมีการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคอย่างต่อเนื่อง
  4. ประชาชนได้ผ่อนคลายความเครียดด้วยการเต้นแอโรบิค
  5. ประชาชนเกิดความรักใคร่สามัคคีจากการพบปะพูดคุยที่ได้ร่วมทำกิจกรรมแอโรบิคกันเป็นประจำ
  6. มีพื้นที่ที่เอื้อต่อการออกกำลังกายของคนในชุมชน มีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน 7.ประชาชนใช้เวลาว่างเป็นประโยชน์ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 มิ.ย. 2564 10:32 น.