กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมนรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันเอดส์แบบบูรณาการ
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่ม อสม. ม.9และ ม. 10
วันที่อนุมัติ 1 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 16,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่ม อสม. ม.9และ ม. 10
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเดื่อศรีคันไชย อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ม.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 16,000.00
รวมงบประมาณ 16,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 160 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์ปัญหาการติดเชื้อ เอชไอวี ที่มีมากในทุกพื้นที่ มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ จากสถิติการติดเชื้อ เอชไอวีรายใหม่ปี 2562 จำนวน 1 คน ปี 2563 จำนวน 1 คนในการแก้ไขปัญหาสุขภาพและการเกิดโรคภัยไข้เจ็บให้ลดลงนั้น จำเป็นอย่างยิ่งในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง โดยการส่งเสริมและพัฒนาปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ ปัจจัยภายในตัวบุคคล (ปัจจัยนำ) เช่น ความรู้ การรับรู้ ความเข้าใจ และปัจจัยแวดล้อม (ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม ) อย่างเหมาะสม ในการพัฒนาปัจจัยภายในจะต้องปลูกฝังให้ประชาชนเกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ ซึ่งหมายถึง ความสามารถและทักษะในการเข้าถึง ข้อมูลด้านสุขภาพ ความรู้ ความเข้าใจเพื่อวิเคราะห์ ประเมินและจัดการตนเอง รวมทั้งสามารถชี้แนะเรื่อง สุขภาพแก่บุคคลครอบครัวและชุมชนได้การพัฒนา ความรอบรู้ด้านสุขภาพ จึงเป็นการสร้างและพัฒนาขีด ความสามารถในระดับบุคคลและเป็นการธำรงรักษาสุขภาพตนเองอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ การเข้าถึงถุงยางอนามัย ของประชาชนยังเป็นตัวชี้วัด ที่จะประเมินการเข้าถึงการป้องกันโรคเอดส์ได้อีกทาง ซึ่งต้องรณรงค์ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงถุงยางอนามัยคลอบคลุมทุกกลุ่ม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อรณรงค์ให้ความรู้เรื่อง “ความรอบรู้ด้านสุขภาพการป้องกันโรคเอดสืแบบบูรณาการ” ประชาชนกลุ่มวัยทำงานมีความรู้ผ่านเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ประชาชนกลุ่มวัยทำงานมีความรู้เรื่อง “ความรอบรู้ด้านสุขภาพการป้องกันโรคเอดสืบแบบบูรณาการ” ผ่านเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

10.00 20.00
2 เพื่อให้เยาวชนมีจุดเข้าถึงถุงยางอนามัยเพิ่มมากขึ้น

เยาวชนมีจุดเข้าถึงถุงยางอนามัยเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 60

10.00 20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อรณรงค์ให้ความรู้เรื่อง “ความรอบรู้ด้านสุขภาพการป้องกันโรคเอดสืแบบบูรณาการ” ประชาชนกลุ่มวัยทำงานมีความรู้ผ่านเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้เยาวชนมีจุดเข้าถึงถุงยางอนามัยเพิ่มมากขึ้น

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 อบรมให้ความรู้ 16,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. ทำแบบทดสอบความรอบรู้ด้านสุขภาพ (ก่อนโครงการ)
  2. จัดอบรมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเอดส์
  3. แบบทดสอบความรอบรู้ด้านสุขภาพ (หลังโครงการ) 4. ออกเยี่ยมจุดจ่ายถุงยางอนามัยในหมู่บ้าน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนกลุ่มวัยทำงานได้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันเอดส์แบบบูรณาการ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70
  2. มีจุดบริการจ่ายถุงยางอนามัยในชุมชนเพิ่มมากขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 มิ.ย. 2564 14:53 น.