กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ บริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปลักหนู ประจำปี 2564
รหัสโครงการ 64-L5203-04-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงา่นกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปลักหนู
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 48,790.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย ยูโส๊ะ ขะเด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปลักหนู อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.681376,100.659077place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 17 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)
103.71
2 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)
16.00
3 ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ
16.00
4 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
16.00
5 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน)
8.00
6 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)
5.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %

103.71 70.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

16.00 17.00
3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)

8.00 9.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี

จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

16.00 17.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา

ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น

16.00 17.00
6 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

5.00 5.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 48,790.00 0 0.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 1 ส่งเสริมให้มีการบริหารเงินกองทุนฯ โดยสนับสนุนแก่ผู้รับทุน 0 27,190.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 2 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน 0 21,600.00 -

1 ส่งเสริมให้มีการบริหารเงินกองทุนฯ โดยสนับสนุนแก่ผู้รับทุน วิธีการสำคัญ 1.1 จัดให้เกิดการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง ต่อปี (ไตรมาสละ 1 ครั้ง) 1.2 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการที่ดีแก่ประชาชนและหน่วยงานที่รับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล 1.3 มีการสนับสนุนติดตามประเมินผลคุณค่าโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกกองทุนสุขภาพตำบล 1.4 การจัดทำแผนสุขภาพตำบล 4 ปี และทบทวนแผนสุขภาพรายปี แยกตามประเด็นปัญหา 1.5 จัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี โดยนำโครงการที่ควรดำเนินการจากแผนสุขภาพมาบรรจุไว้ในแผนการเงิน รายจ่าย 2 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน วิธีการสำคัญ 2.1 อบรมเชิงปฏิบัติการด้วยหลักสูตรภาคประชาชนเกี่ยวกับวัตถุประสงค์กองทุนฯ หน้าที่ของคณะกรรมการ ประกาศฯ 2.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการอย่างง่ายเพิ่มการรับโครงการของผู้รับทุน 2.3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนสุขภาพตำบล 2.4 การถอดบทเรียนและประเมินคุณค่าโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กระบวนการบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว
  2. มีเครื่องอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานที่จำเป็นและเพียงพอต่อการทำงาน
  3. แผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน       4. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด       5. คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน
  4. การเสนอแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 2564 10:35 น.