กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอด มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองตั้งแต่ระยะ ตั้งครรภ์ระยะคลอดและหลังคลอด
ตัวชี้วัด :
53.00 55.00 55.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอด มีความรู้และทักษะในการอบรมเลี้ยงดูทารกแรกเกิด– 5 ปี
ตัวชี้วัด :
53.00 55.00 55.00

 

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเองและการดูแลทารกแรกเกิด – 5 ปีและสามารถให้อาหารเสริมต่างๆตามวัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามหลักโภชนาการ
ตัวชี้วัด :
53.00 55.00 55.00

 

4 เพื่อให้มารดาหลังคลอดทุกรายเห็นถึงความสำคัญของการให้นมแม่แก่ทารกแรกเกิด– 6 เดือน
ตัวชี้วัด :
53.00 55.00 55.00

 

5 เพื่อให้มารดาเด็กวัยแรกเกิด – 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งทราบข้อปฏิบัติในการดูแลสุข ภาพเด็ก/การให้วัคซีน/การใช้สมุดสุขภาพเด็ก/การประเมินและการส่งเสริมพัฒนาการ
ตัวชี้วัด :
53.00 55.00 55.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 53 53
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 53 53
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอด มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองตั้งแต่ระยะ  ตั้งครรภ์ระยะคลอดและหลังคลอด (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอด มีความรู้และทักษะในการอบรมเลี้ยงดูทารกแรกเกิด– 5 ปี (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเองและการดูแลทารกแรกเกิด – 5 ปีและสามารถให้อาหารเสริมต่างๆตามวัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามหลักโภชนาการ (4) เพื่อให้มารดาหลังคลอดทุกรายเห็นถึงความสำคัญของการให้นมแม่แก่ทารกแรกเกิด– 6 เดือน (5) เพื่อให้มารดาเด็กวัยแรกเกิด – 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งทราบข้อปฏิบัติในการดูแลสุข ภาพเด็ก/การให้วัคซีน/การใช้สมุดสุขภาพเด็ก/การประเมินและการส่งเสริมพัฒนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงการดำเนินงานให้แก่ อสม. (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการแก่หญิงวัยเจริญพันธ์คู่พร้อมสามี จำนวน 80 คน (3) ประชุมเชิงปฏิบัติการแก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดและสามี จำนวน 106 คน (4) ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ (5) ติดตามเยี่ยมมารดาที่มีภาวะเสี่ยงก่อนคลอดและหลังคลอด (6) ติดตามเด็กให้มารับวัคซีนตามเกณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh