กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
รหัสโครงการ 64-L3330-1-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน
วันที่อนุมัติ 12 กรกฎาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 สิงหาคม 2564 - 16 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 11,045.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอุมา รินชะ
พี่เลี้ยงโครงการ นางวาลัย ด้วงคง
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 52 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์สุขภาพเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับบริโภคที่ส่งผลโดยตรงต่อภาวะสุขภาพ ประกอบด้วย อาหาร ยา เครื่องสำอาง อาหารเสริม เป็นต้น แม้ว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวล้วนมี มาตรการภาครัฐ สำหรับควบคุมคุณภาพมาตรฐานและโดยเฉพาะอย่างยิ่งความปลอดภัยต่อผู้บริโภค แต่ก็มีรายงานการตรวจพบ สารอันตรายห้ามใช้หรือสิ่งควบคุมเกินมาตรฐานกำหนดในผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆมาโดยตลอด การดำเนินงานเฝ้า ระวังความปลอดภัยในการบริโภค ด้านอาหาร เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆเช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง รวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์ เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคด้านต่างๆในชุมชน เนื่องจาก พบว่าในหมู่บ้านที่ห่างไกลความเจริญ สื่อความรู้ ต่างๆเข้าไม่ถึงหรือยังมีน้อย พบว่ามีร้านค้าในชุมชน รวมทั้งรถเร่ นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน ไม่มีฉลากภาษาไทย มาจำหน่ายแก่ประชาชนในชุมชน ประกอบกับในปัจจุบัน มีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพในคลื่นวิทยุชุมชน ผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภคด้านต่างๆ อาจตก เป็นเหยื่อ หรือได้รับอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานจากการหลงเชื่อโฆษณาเหล่านั้น รวมทั้งผลิตภัณฑ์ยาปฏิชีวนะและอาหารเสริมที่มีส่วนผสมสเตียรอยด์ ทำให้เกิดการรับสารที่อันตรายและได้รับ อย่างไม่สมเหตุสมผล ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนระยะยาว จากการสำรวจร้านค้าปี 256๔ ครั้งที่ 1จำนวน 19 ร้าน ร้านอาหาร 8 ร้าน และแผงลอยจำนวน 5 ร้าน เขต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน พบร้านขายของชำ ขายขนมหมดอายุและเสื่อมสภาพ 3 ร้าน ร้อยละ 15.79 ฉลากขนมไม่มี อย. 3 ร้าน ร้อยละ 15.79 ฉลากขนมไม่มีวัน เดือน ปีที่ผลิต หรือหมดอายุ 3 ร้าน ร้อยละ 15.79 และยังพบมีร้านชำบางร้าน จำหน่ายบุหรี่ให้เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน จึงมีความจำเป็นที่ต้องดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชนด้วยพลังของชุมชน เป็นระบบเครือข่าย และคณะทำงานร่วมกันในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ยา ไม่ปลอดภัย การโฆษณาชวนเชื่อ การเฝ้าระวังรถเร่ หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ในชุมชน ทำให้ชุมชนปลอดภัยจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ เฝ้าระวัง ความปลอดภัยของประชาชน และชุมชน ทั้ง 6 หมู่บ้าน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อให้ผู้ประกอบการ สามารถเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร ยา เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน ๒. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้ และพัฒนาศักยภาพของอสม. ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน3. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

๑.ผู้ประกอบการมีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร ยา เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน ๒.อสมมีศักยภาพ ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชน 3.มีภาคีเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

52.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 11,045.00 1 11,045.00
16 ส.ค. 64 จัดอบรมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร อสม แม่ครัวโรงเรียนบ้านโคกสัก/โรงเรียนวัดลอน และคนงานทั่วไปศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 0 11,045.00 11,045.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ประกอบการสามารถจำหน่ายอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพให้แก่ผู้บริโภค 2. ผู้ประกอบการ และเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค มีความรู้ ในเรื่องอาหารสะอาด ปลอดภัยได้อย่างถูกต้อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ก.ค. 2564 17:04 น.