กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับปรุงและซ่อมแซมสถานที่สำหรับการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation)
รหัสโครงการ 64-L5227-05-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลระวะ
วันที่อนุมัติ 10 กันยายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 กันยายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 มกราคม 2565
งบประมาณ 99,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวศรินรัตน์ ทองปานทิวัตถ์
พี่เลี้ยงโครงการ นายทนงศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 ก.ย. 2564 31 ธ.ค. 2564 99,000.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 99,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 ระลอกที่สามตั้งแต่เดือนเมษายนที่ผ่านมาพบว่ามีแนวโน้มทวีความรุนแรงและพบการระบาดในวงกว้างมากขึ้น จำนวนมีผู้ติดเชื้อรายใหม่วันละมากกว่า 10,000 รายต่อวัน ประกอบกับประชาชนทั่วไปได้รับการฉีดวัคซีนไม่ถึงร้อยละ 70 ส่งผลให้การป้องกันแบบภูมิต้านทานกลุ่มไม่เป็นผล ด้วยสาเหตุนี้จึงทำให้มีจำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก และส่งผลกระทบต่อระบบการรับเข้ารักษา เนื่องจากระยะเวลาการรักษาพยาบาลต้องใช้เวลาอย่างน้อย เคสละ 14 วัน จึ่งส่งผลต่อจำนวนเตียงไม่เพียงพอสำหรับการรักษาตัวผู้ป่วย ผู้ป่วยที่ติดเชื้อโควิดสามารถแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ อาการหนัก(สีแดง) อาการปานกลาง(สีเหลือง) และอาการไม่รุนแรง(สีเขียว) เมื่อเกิดสถานการณ์ระบาดที่รุนแรง ผู้ติดเชื้อจะถูกปฏิเสธและต้องรอคอยอยู่ที่บ้านและทำให้คนใกล้ชิดมีโอกาสติดเชื้อและขยายเข้าสู่ชุมชนในวงกว้างมากขึ้น ดังนั้น การพัฒนาระบบศูนย์แยกกักตัวในชุมชนเพื่อพักคอยเตียง หรือดูแลผู้ป่วยโควิดแก่คนในชุมชน (Community Isolation & Home Isolation) จึงเป็นทางออกเพื่อการรับมือสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 เป็นสถานที่สำหรับรับผู้ติดเชื้อหรือผู้ติดเชื้อที่อาการไม่หนักมากจนต้องเข้าโรงพยาบาล ทางองค์การบริหารส่วนตำบลระวะจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการแก้ปัญหาการรองรับผู้ป่วยติดเชื้อในกรณีต้องพักคอยในชุมชน และเห็นควรปรับปรุง ซ่อมแซม อาคารสถานที่ในโรงเรียนวัดใหญ่ เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation) ในพื้นที่ตำบลระวะ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation) ในพื้นที่ตำบลระวะ

ร้อยละของประชาชนกลุ่มป่วยด้วยโรคโควิด -19 (กลุ่มสีเขียว) มีสถานที่รองรับ ในกรณีโรงพยาบาลระโนดหรือโรงพยาบาลสนามไม่มีเตียง

30.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation) ในพื้นที่ตำบลระวะ

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

19 ส.ค. 64 - 31 ธ.ค. 64 1.การปรับปรุงภูมิทัศน์ ภายนอกอาคารพร้อมทำความสะอาดอาคารสถานที่(โรงเรียนวัดใหญ่) 30.00 18,000.00 -
19 ส.ค. 64 - 31 ธ.ค. 64 2.การปรับปรุงและซ่อมแซมอาคารสถานที่(โรงเรียนวัดใหญ๋) 30.00 81,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  • วางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ
  • จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
  • ติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน
  • สรุปผลการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เตรียมความพร้อมการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation) เพื่อรองรับสถานการณ์โควิด-19 ในพื้นที่ตำบลระวะ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ส.ค. 2564 15:13 น.