กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการติดเชื้อในกรณีการจัดการศพผู้เสียชีวิตที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชน
รหัสโครงการ 64- L5294-2-20
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ เครือข่ายผู้นำศาสนาตำบลนาทอน
วันที่อนุมัติ 23 สิงหาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 42,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นายมิตรชา โต๊ะลาตี 2.นายหมัด ไมมะหาด 3.นายพิเชษฐ์ นราจร 4.นายสุนัน เจะสา 5.นายนพดล ยันตาภรณ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 25 ส.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 42,900.00
รวมงบประมาณ 42,900.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ส่งผลให้มีผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนมาก รวมถึงจำนวนผู้เสียชีวิตที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งเสียชีวิตในโรงพยาบาลและในชุมชน การจัดการศพผู้เสียชีวิตด้วยโรคโควิด-19ถือเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพึงตระหนักเป็นอย่างยิ่ง เพราะหากปฏิบัติไม่ถูกต้องจะเพิ่มความเสี่ยงในการแพร่กระจายเชื้อโรคได้ดังนั้่นการจัดการศพผู้เสียชีวิตหรือเสียชีวิตที่สงสัยว่าติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชน จึงต้องถูกปฏิบัติตามแนวทางการจัดการศพติดเชื้ออย่างเคร่งครัด เพราะเชื้อที่อยู่ในสารคัดหลั่งของร่างกาย อาจมีการตกค้างอยู่ตามผิวหนัง ช่องทางเดินหายใจรวมถึงช่องทวารต่างๆในร่างกายของผู้เสียชีวิต ทำให้ผู้ดำเนินการจัดการศพทุกคนล้วนมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อจากการสัมผัสศพโดยตรง ดังนั้นผู้ดำเนินการจัดการศพที่เสียชิวิตจากโรคโควิด-19ในชุมชน เช่น ผู้นำศาสนา ผู้ใหญ่บ้าน อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัคร และจิตอาสา ควรได้รับการอบรมแนวทางการจัดการศพผู้เสียชีวิตจากโรคโควิด-19อย่างถูกต้องเพื่อป้องการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปสู่คนในชุมชนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปฏิบัติตามแนวทางรวมถึงการสวมและถอดชุดป้องกันตนเองอย่างถูกวิธี

 

0.00
2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายจัดการศพผู้เสียชีวิตจากโควิด-19 ได้ถูกต้องตามหลักพิธีทางศาสนา

 

0.00
3 เพื่อให้เกิด ครู ก. ที่สามารถถ่ายทอดความรู้ไปสู่กลุ่มต่างๆในชุมชน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 42,900.00 0 0.00
1 - 30 ก.ย. 64 1.อบรมให้ความรู้ เรื่อง การจัดการศพผู้เสียชีวิตหรือเสียชีวิตที่สงสัยว่าติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 - การตรวจคัดกรองโควิด-19 เบื้องต้น ด้วยชุดตรวจ ATK -การสวมและถอดชุดป้องกันตนเอง -การบรรจุศพและการทำความสะอาดฆ่าเชื้อ 2อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พิธีกรรมทางศาสน 0 42,900.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ส.ค. 2564 00:00 น.