กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการประชาชนช้างให้ตกร่วมใจฉีดวัคซีนป้องกันภัยโรคโควิด-19
รหัสโครงการ 2564-L2976-05-002
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลช้างให้ตก
วันที่อนุมัติ 27 สิงหาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 27 สิงหาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 10 กันยายน 2564
งบประมาณ 10,540.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวฐติมา แก้วยะรัตน์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.672,101.062place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนักของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ ตัวไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง 1-3% ร้อยแรงน้อยกว่า SAR ซึ่งมีอัตราการตาย 10 % และในตำบลช้างให้ตกมีผู้ติดเชื้อถึง 30 ราย เสียชีวิต 0 ราย ประกอบกับประชาชนยังได้รับวัคซีนน้อยเพียงร้อยละ 30.25 ดังนั้น มาตรการการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19ในเรื่องการฉีดวัคซีนเชิงรุก นั้นถือว่าจำเป็นอย่างยิ่ง ชมรม อสม.ตำบลช้างให้ตก จึงได้เสนอแนวทางการฉีดวัคซีนเชิงรุกให้แก่หน่วยงานสาธารณสุข ซึ่งได้รับการตอบรับว่าเป็นแนวทางที่ดี ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการประชาชนช้างให้ตกร่วมใจฉีดวัคซีนป้องกันภัยโควิค ขึ้นมาในพื้นที่

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลช้างให้ตกเรื่องโรคไวรัสโคโรน่า2019 คิดเป็นร้อยละ 100 2.เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคไวรัสโคโรนา 2019 คิดเป็น ร้อยละ 100 3. เพื่อให้ประชาชนรู้จักวิธีป้องกันโรคไวรัสโคโรนา2019 คิดเป็น ร้อยละ 100.. 4. เพื่อให้ประชาชนได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019..คิดเป็นร้อยละ 70

ประชาชนในพื้นที่ตำบลช้างให้ตกได้รับความรู้ความเข้าเกี่ยวกับโรคโควิด-19 และได้รับการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ได้อย่างถูกต้อง

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 100 10,540.00 0 0.00
26 ส.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 การสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคโควิด-19 และการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 100 10,540.00 -

1.ให้ความรู้เรื่องโรคไวรัสโคโรนา2019 แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลช้างให้ตก 2.ให้คำแนะนำการรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 3 ให้ความรู้การปฏิบัติตัวก่อนและหลังการรับวัคซีนป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 4.เยี่ยมติดตามผู้รับบริการหลังฉีดวัคซีนไวรัสโคโรนา 2019

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลช้างให้ตกเรื่องโรคไวรัสโคโรน่า2019 คิดเป็นร้อยละ 100     2.เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคไวรัสโคโรน่า 2019 คิดเป็น ร้อยละ 100
3. เพื่อให้ประชาชนรู้จักวิธีป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า2019 คิดเป็น ร้อยละ 100..       4. เพื่อให้ประชาชนได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019..คิดเป็นร้อยละ 70

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ส.ค. 2564 14:57 น.