กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
รหัสโครงการ 65-L5182-04-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
วันที่อนุมัติ 29 กันยายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 79,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงานมีการเข้าร่วมประชุมตามที่กำหนดไว้เพื่อให้การบริหารจัดการและปฏิบัติงานของกองทุนฯ มีประสิทธิภาพ
80.00
2 ร้อยละของการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
90.00
3 ร้อยละของกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มองค์กร ผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
80.00
4 ร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้าได้จัดตั้งขึ้น เพื่อให้ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ได้รับบริการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอย่างทั่วถึง และเพื่อสร้างหลักประกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชนได้ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งผลให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้องรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป และเพื่อให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้านี้ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงานมีการเข้าประชุมตามที่กำหนดไว้

เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงานมีการเข้าประชุมตามที่กำหนดไว้

80.00 90.00
2 เพื่อให้กองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถดำเนินงาน ควบคุม กำกับดูแล การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินได้อย่างถูกต้องไปตามระเบียบฯ

เพิ่มร้อยละกองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถดำเนินงาน ควบคุม กำกับดูแล การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินได้อย่างถูกต้องไปตามระเบียบฯ

90.00 100.00
3 เพื่อให้กองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถกำกับดูแลหน่วยงานที่ได้รับอนุมัติงบประมาณเป็นไปตามแผนที่กำหนด

เพิ่มร้อยละกองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถกำกับดูแลหน่วยงานที่ได้รับอนุมัติงบประมาณเป็นไปตามแผนที่กำหนด

80.00 90.00
4 เพื่อให้ข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น

เพิ่มร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น

80.00 90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 64พ.ย. 64ธ.ค. 64ม.ค. 65ก.พ. 65มี.ค. 65เม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 ประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการ LTC และคณะทำงานฯ อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี(1 ต.ค. 2564-30 ก.ย. 2565) 52,350.00                        
2 อาหารว่างและเครื่องดื่มคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการ LTC และคณะทำงานฯ(1 ต.ค. 2564-30 ก.ย. 2565) 7,300.00                        
3 จัดซื้อวัสดุสำนักงาน(1 ต.ค. 2564-30 ก.ย. 2565) 7,650.00                        
4 การเดินทางไปราชการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการฯ และคณะอนุกรรมการ LTC และคณะทำงานที่รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน(1 ต.ค. 2564-30 ก.ย. 2565) 9,000.00                        
5 การจัดทำแผนสุขภาพและแผนการเงิน(1 ส.ค. 2565-30 ก.ย. 2565) 3,300.00                        
รวม 79,600.00
1 ประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการ LTC และคณะทำงานฯ อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 127 52,350.00 8 36,600.00
3 ก.พ. 65 ประชุมอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ 9 2,700.00 2,400.00
17 ก.พ. 65 ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 22 8,800.00 7,200.00
15 มิ.ย. 65 ประชุมอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ 9 2,700.00 2,700.00
23 มิ.ย. 65 ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูและระยะยาวฯ (LTC) 17 5,100.00 4,500.00
20 ก.ค. 65 ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 22 8,800.00 6,400.00
18 ส.ค. 65 ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูและระยะยาวฯ (LTC) 15 4,500.00 3,300.00
12 ก.ย. 65 ประชุมอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ 11 3,300.00 3,300.00
20 ก.ย. 65 ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 22 8,800.00 6,800.00
27 ก.ย. 65 ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 0 7,650.00 -
2 อาหารว่างและเครื่องดื่มคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการ LTC และคณะทำงานฯ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 127 7,300.00 8 3,175.00
3 ก.พ. 65 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ 9 225.00 225.00
17 ก.พ. 65 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับคระกรรมการกองทุนฯ 22 550.00 550.00
15 มิ.ย. 65 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ 9 225.00 225.00
23 มิ.ย. 65 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูและระยะยาวฯ (LTC) 17 425.00 425.00
20 ก.ค. 65 ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 22 550.00 550.00
18 ส.ค. 65 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูและระยะยาวฯ (LTC) 15 4,500.00 375.00
12 ก.ย. 65 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ 11 275.00 275.00
20 ก.ย. 65 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับคณะกรรมการ 22 550.00 550.00
3 จัดซื้อวัสดุสำนักงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 7,650.00 1 4,980.00
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 จัดซื้อวัสดุสำนักงาน 0 7,650.00 4,980.00
4 การเดินทางไปราชการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการฯ และคณะอนุกรรมการ LTC และคณะทำงานที่รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 9,000.00 0 0.00
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 การเดินทางไปราชการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการฯ และคณะอนุกรรมการ LTC และคณะทำงานที่รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน 0 9,000.00 -
5 การจัดทำแผนสุขภาพและแผนการเงิน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 3,300.00 1 3,300.00
1 ส.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 การจัดทำแผนสุขภาพและแผนการเงิน 60 3,300.00 3,300.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 79,600.00 0 0.00
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 ประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการ LTC และคณะทำงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี 0 60,400.00 -
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 จัดซื้อวัสดุสำนักงาน 0 7,650.00 -
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 การเดินทางไปราชการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการฯ และคณะอนุกรรมการ LTC และคณะทำงานที่รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน 0 9,000.00 -
1 ส.ค. 65 - 23 ก.ย. 65 การจัดทำแผนสุขภาพและแผนการเงิน 0 2,550.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการ LTC และคณะทำงานฯ มีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการกองทุน และสามารถและการปฏิบัติงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีประสิทธิภาพมากขึ้น
  2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
  3. แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  4. ข้อมูลของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้าในระบบออนไลน์มีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ก.ย. 2564 09:15 น.