กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 60-L5295-2-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม. ม. 6 บ้านทุ่งขมิ้น
วันที่อนุมัติ 22 สิงหาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 22 สิงหาคม 2560 - 30 พฤศจิกายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 18,320.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนุชจดา ขำเจริญ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 7.048,99.817place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกอำเภอทุ่งหว้า จำนวน 464 ราย คิดเป็นร้อยละ 1,893.88 ต่อแสนประชากร และพบผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกจำนวน 164 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 3,877.07 ต่อแสนประชากร ซึ่งโรคไข้เลือดออกหากไม่มีการป้องกันและรักษาที่ทันท่วงที อาจเกิดการระบาดและอันตรายถึงชีวิตได้ จึงมีการดำเนินกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน และหากเกิดโรคสามารถส่งต่อการรักษาได้อย่างทันท่วงทีต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ เข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก
  1. ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกร้อยละ 80
2 2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  1. หากพบผู้ป่วย สามารถควบคุมโรคได้ภายใน28 วัน
  2. ค่า HI น้อยกว่า 10
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดอบรมแกนนำและอสม.เกี่ยวกับการค้นหาและควบคุมโรคเบื้องต้น 2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3.รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน 4 ครั้ง 4.แต่งตั้งคณะกรรมการสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลายในชุมชน 5.จัดมุมเรียนรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 6.ประเมินผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.พบผู้ป่วยน้อยลงจากปีก่อนหน้า หรือไม่พบผู้ป่วยเลย 2.ประชาชนสามารถป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ด้วยตนเอง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ก.ย. 2560 16:18 น.