กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการเพื่อลูกน้อยในครรภ์ ประจำปีงบประมาณ 2565
รหัสโครงการ 64-L3346-2-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักปลัด เทศบาลตำบลบ้านพร้าว
วันที่อนุมัติ 4 ตุลาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 107,175.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางผุสดี ถัดสีทัย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2564 30 ก.ย. 2565 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (107,175.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก ในเขตตำบลบ้านพร้าวพบปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อสุขภาพของมารดาและเด็กอายุแรกเกิดถึง 5 ปีในหลายประเด็น ได้แก่ ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ เพราะปกติเมื่อมีการตั้งครรภ์ร่างกายจะมีการสร้างเม็ดเลือดและพลาสมาเพิ่มขึ้น แต่ทั้งนี้การเพิ่มของเม็ดเลือดของแม่ท้องอาจจะมีน้อยกว่าคนปกติ อีกทั้งหญิงที่ตั้งครรภ์จะมีภาวะซีดลงเล็กน้อยอยู่แล้ว เนื่องจากร่างกายของแม่ตั้งครรภ์ จำเป็นต้องใช้เม็ดเลือดแดงในการส่งอาหารและออกซิเจนไปเลี้ยงลูกในท้อง ส่วนลูกก็ต้องสร้างเม็ดเลือดแดงของตัวเองขึ้นมา ทำให้ต้องการธาตุเหล็กเพิ่มมากขึ้น และได้จากการดึงมาจากร่างกายของแม่ จึงทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซีด โดยเฉพาะคุณแม่วัยรุ่น ครั้งที่ 1 ปี 2559 จำนวน 3 คน จาก จำนวน 48 คน และปี 2560 มีภาวะซีด จำนวน 7 คน จากจำนวน 52 คน ซีดครั้งที่ 2ปี 2559มี 1 คน ปี 2560มี 1 คน ปี 2559 มีทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กก. จำนวน 3 คน จากหญิงตั้งครรภ์ 57 คน ปี 2560 จำนวน 4 คน จากหญิงตั้งครรภ์25 คน การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 60.03 เด็ก 0 – 5 ปี ส่วนสูงดีและรูปร่างสมส่วน 59.31 มารดามีภาวะเสี่ยง จากโรคประจำตัวคือ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และภาวะตกเลือดหลังคลอด ดังนั่้นพัฒนาการที่สมวัยเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของเด็ก การที่เด็กจะมีพัฒนาการสมวัยในทุกๆ ด้าน ต้องอาศัยความร่วมมือของหลายๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องเริ่มตั้งแต่แม่หรือครอบครัวที่จะต้องให้การดูแลเอาใจใส่อย่างถูกต้องตั้งแต่ อยู่ในครรภ์แม่โดยเน้นการรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ในปริมาณและสัดส่วนที่เพียงพอ เหมาะสมโดย หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการฝากก่อน 12 สัปดาห์หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์หญิงตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 20 ร้อยละ 5 และมีหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ โลหิตจาง น้อยกว่าร้อยละ 10

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อส่งเสริมโภชนาการแก่หญิงตั้งครรภ์ให้ได้รับสารอาหารที่เหมาะสม

หญิงตั้งครรภ์ในเขตความรับผิดชอบมีภาวะโภชนาการที่ดีและได้รับสารอาหารที่่เหมาะสม

80.00 100.00
2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองให้เหมาะสม

หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง

70.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 107,175.00 0 0.00
1 ต.ค. 64 - 30 พ.ย. 64 อบรมให้ความรู้กับหญิงตั้งครรภ์ 0 1,675.00 -
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 สนับสนุน นม – ไข่แก่หญิงตั้งครรภ์ 0 105,500.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองมากขึ้น
  2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์และถูกต้อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ต.ค. 2564 10:30 น.