กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันระงับโรคติดต่อนำโดยยุงลายตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2565
รหัสโครงการ 65-L5307-2-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ประธานกลุ่มป้องกันควบคุมโรคตำบลบ้านควน
วันที่อนุมัติ 29 มีนาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 43,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฮอดีย๊ะ ตะหวัน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 11283 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จากการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรค สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. -1 ก.ย. 64 พบผู้ป่วย 6,485 ราย เสียชีวิต 6 ราย กลุ่มอายุพบมากที่สุดคือ อายุ 5-14 ปี รองลงมา อายุ 15-24 ปี โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่สำคัญ ได้แก่ ได้รับการวินิจฉัยล่าช้า รวมถึงมีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้างบางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือ ยุงลายลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามที่อยู่อาศํย ในสวนยางพาราขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่นโอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ยางรถยนต์เก่า หรือวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้เลือดออก จากข้อมูล 4 ปีที่ผ่านมาในตำบลบ้านควนมีผู้ป่วยไข้เลือดออก ดังนี้ คือปี พ.ศ 2561 จำนวน 87 ราย พ.ศ.2562 จำนวน 34 ราย พ.ศ.2563 จำนวน 30 ราย พ.ศ.2564 จำนวน 1 ราย ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย จึงต้องมีการป้องกันโดยการทำลายลุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์โดยการสร้างความเข้าใจ ตระหนักให้ความสำคัญ จึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันไข้เลือดออกได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนประชากรจากไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย

มีประชากรป่วยจาก ไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย ลดลง

30.00 10.00
2 เพื่อลดจำนวนประชากรยุงลายที่เป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษา

พ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่ในสถานศึกษา อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี

2.00 2.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 43,500.00 2 39,108.00
1 เม.ย. 65 - 30 ก.ย. 65 ป้องกันและระงับโรคติดต่อนำโดยยุงลาย (พื้นที่รัศมี 100 เมตร ) 0 35,500.00 33,300.00
1 เม.ย. 65 - 30 ก.ย. 65 รณรงค์ให้ชุมชนร่วมกันดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 0 8,000.00 5,808.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.จำนวนผู้ป่วยจาก ไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย มีจำนวนลดน้อยลง
2.ลดจำนวนประชากรยุงที่เป็นพาหนะลงได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 พ.ย. 2564 10:28 น.