กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด ”

ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุภาพร คงพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด

ที่อยู่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3308-65-04-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3308-65-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,808.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัดได้จัดตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2551 เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลชะรัด ได้รับบริการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอย่างทั่วถึง และเพื่อสร้างหลักประกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชน จากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชนได้ถูกต้องมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งผลให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้องรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป และเพื่อให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่ผู้ขอรับทุน
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าใช้จ่ายในการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลชะรัด /คณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ/ผู้เข้าร่วมการ ประชุม/กิจกรรมการจัดทำแผนกองทุน/กิจกรรมการแลกเปลี่ยน เรียนรู้กองทุนต้นแบบ/ค่าเดินทางไปประชุม/อื่นๆ
  2. การประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 5/2564
  3. ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1/2565
  4. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2565
  5. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ ครั้งที่ 1/2565
  6. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2/2565
  7. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 3/2565
  8. ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 4/2565
  9. การประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2565
  10. กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุน ต้นแบบและการจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.ชะรัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 35

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการกองทุน ฯ และคณะกรรมการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนได้มีความรู้ และพัฒนางานกองทุนได้
  2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  3. การรับเงินการจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินหรือการจัดทำบัญชีเงินเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
  4. มีแผนการดำเนินงานตลอดปีงบประมาณ 2565

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 5/2564

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมซักซ้อมกิจกรรมทางกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการกองทุน ได้รับทราบแนวทางการจัดทำกิจกรรมทางกายในพื้นที่

 

23 0

2. ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1/2565

วันที่ 14 มกราคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเพื่อขออนัมติ 1. ขออนุมัติแผนการเงินประจำปีของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด
                      ประจำปีงบประมาณ 2565           2. ขอความเห็นชอบรายงานการรับ - จ่าย และเงินคงเหลือ ประจำไตรมาส 1
                          เดือนตุลาคม 2564 - ธันวาคม 2564
                  3. ขออนุมัติโครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า
                          - 2019  งบประมาณ 41,700.- บาท จากชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลชะรัด
                          ร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน หลักสูตร สาธารณสุขศาสตร์บัณฑิต วิทยาลัยการสาธารณสุข
                          สิรินธร จ.ยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมเพื่อขอ 1. ขออนุมัติแผนการเงินประจำปีของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด
                      ประจำปีงบประมาณ 2565           2. ขอความเห็นชอบรายงานการรับ - จ่าย และเงินคงเหลือ ประจำไตรมาส 1
                          เดือนตุลาคม 2564 - ธันวาคม 2564
                  3. ขออนุมัติโครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า
                          - 2019  งบประมาณ 41,700.- บาท จากชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลชะรัด
                          ร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน หลักสูตร สาธารณสุขศาสตร์บัณฑิต วิทยาลัยการสาธารณสุข
                          สิรินธร จ.ยะลา

 

23 0

3. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2565

วันที่ 26 มกราคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขออนุมัติโครงการ ฯ และแผนการพยาบาล care plan  ของศูนย์พัฒนาและพื้นฟู
                              คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการตำบลชะรัด เขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง
                              จำนวน 22 ราย และเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านชะรัด จำนวน 45 ราย
                              รวม 67 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ที่ประชุมอนุมัติโครงการ ฯ และแผนการพยาบาล care plan  ของศูนย์พัฒนาและพื้นฟู
                          คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการตำบลชะรัด เขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง
                          จำนวน 22 ราย และเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านชะรัด จำนวน 45 ราย
                          รวม 67 คน

 

10 0

4. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ ครั้งที่ 1/2565

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมพิจารณากรั่นกรองโครงการ 15 โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ที่ประชุม พิจารณากลั่นกรองโครงการ
ทั้ง 15 โครงการ ซึ่งงบที่ขอมาเกินอยู่ 47572 บาท
ดังนี้ สรุปโครงการ/กิจกรรมที่ของบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ที่ ชื่อโครงการ งบประมาณ ที่ขอสนับสนุน งบที่ผ่านการพิจารณาจากอนุฯวิชาการ งบประมาณที่อนุมัติ ประเภทโครงการ หน่วยงาน หมายเหตุ 1 ส่งเสริมการออกำลังกายในเด็กและเยาวชนด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพและห่างไกลยาเสพติดตำบลชะรัด 32,170 1 กองการศึกษา
ทต.ชะรัด
2 โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะบุคลากรเทศบาลตำบลชะรัด 49,993 1 กองการศึกษา
ทต.ชะรัด
ประเภทที่ 1  จำนวน  2  โครงการ 82,163 บาท
3 โครงการวัยใส ห่างไกลยาเสพติด To be number ONE 29,200 2 ชมรม To be number ONE
4 โครงการส่งเสริมการขยับกายในชุมชน ตำบลชะรัด ปี 2565 40,700 2 ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านชะรัด
5 โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กมุสลิม ตำบลชะรัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 46,900 2 ชมรม อสม ตำบลชะรัด
6 โครงการแอโรบิคเพื่อสุขภาพ 13,000 2 ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง
7 โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในกลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 19,800 2 ชมรม ผู้ปวยเบาหวาน.รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง
8 โครงการโรคติดต่อไข้เลือดออก 15,611 2 ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง
ประเภทที่ 2  จำนวน  6  โครงการ 165,211 บาท
 


สรุปโครงการ/กิจกรรมที่ของบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ที่ ชื่อโครงการ งบประมาณ ที่ขอสนับสนุน งบที่ผ่านการพิจารณาจากอนุฯวิชาการ งบประมาณที่อนุมัติ ประเภทโครงการ หน่วยงาน หมายเหตุ 9 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลชะรัด 68,650 3 ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูฯ
10 โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 15,360 3 ศพด.ทต.ชะรัด
11 โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพเด็กในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดพัฒนาอิสลาม 5,500 3 ศดม.พัฒนาอิสลาม
12 โครงการจัดซื้อเครืองวัดอุณหภูมิร่างกายอินฟาเรดและจ่ายแอลกอฮอล์อัตโนมัติพร้อมขาตั้งและแอลกอฮอล์ 4,850 3 ศดม.ท่ายาง
13 โครงการจัดซื้อเครืองวัดอุณหภูมิร่างกายอินฟาเรดและจ่ายแอลกอฮอล์อัตโนมัติ 4,850 3 ศดม.นูรุลฮูดาห์
ประเภทที่ 3  จำนวน  5  โครงการ 99,210 บาท
14 โครงการคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรน่า2019ด้วยเครื่องตรวจ ATK 35,260 5 ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง
15 โครงการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) 35,250 5 งานสาธารณสุข สำนักปลัด เทศบาลตำบลชะรัด
ประเภทที่ 5  จำนวน  2  โครงการ 70,510 บาท
พิจาณาแล้ว ปรับลด ไป77781 บาท และจะนำโครงการเข้าประชุมคณะกรรมการกองทุนโอกาสต่อไป

 

9 0

5. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2/2565

วันที่ 1 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

4.1 ขออนุมัติโครงการ/กิจกรรม ที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด จำนวน 15 โครงการ
4.2.1 พิจารณาโครงการประเภทที่ 1 จำนวน 2 โครงการ
4.2.2 พิจารณาโครงการประเภทที่ 2 จำนวน 6 โครงการ

4.2.3 พิจารณาโครงการประเภทที่ 3 จำนวน 5 โครงการ

4.2.4 พิจารณาโครงการประเภทที่ 5 จำนวน 2 โครงการ

กฎหมาย/ระเบียบ (ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้
หนังสือสั่งการ  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพใน ที่เกี่ยวข้อง    ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ 16 คณะกรรมการกองทุนมีอำนาจหน้าที่ (2) พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตาม ข้อ10

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ที่ประชุมอนุมัติโครงการ/กิจกรรม ที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด จำนวน 15 โครงการ

4.2.1 พิจารณาโครงการประเภทที่ 1  จำนวน  2 โครงการ

4.2.2 พิจารณาโครงการประเภทที่ 2  จำนวน 6 โครงการ

4.2.3 พิจารณาโครงการประเภทที่ 3  จำนวน 5 โครงการ

4.2.4 พิจารณาโครงการประเภทที่ 5  จำนวน 2 โครงการ

กฎหมาย/ระเบียบหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง  (ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพใน  ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ 16 คณะกรรมการกองทุนมีอำนาจหน้าที่ (2) พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตาม ข้อ10

 

23 0

6. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 3/2565

วันที่ 5 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด ครั้งที่ 3/2565 เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการพร้อมงบประมาณในโครงการจัดการงานศพผู้เสียชีวิตจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ที่ประชุมอนุมัติโครงการ พร้อมงบประมาณ จำนวน 14000 บาท

 

22 0

7. ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 4/2565

วันที่ 17 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเพื่ออนุมัติโครงการ 10(4) และ ติดตามโครงการ จำนวน 18 โครงการ และเตรียมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนต้นแบบ และกิจกรรมการจัดทำแผนกองทุน ฯ ณ พื้นที่ เขต 12 สงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ที่ประชุมอนุมัติ โครงการ 10 (4)
2.ติดตามโครงการ ทั้ง 18 โครงการ 3.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ณ อบต.ปากน้ำ อ.ละงู จ. สตูล 4.กิจกรรมการจัดทำแผนกองทุน ณ ปากน้ำรีสอร์ท อ.ละงู จ.สตูล

 

22 0

8. การประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2565

วันที่ 23 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เพื่ออนุมัติโครงการ และแผนการดูแลผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 39 ราย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ที่ประชุมอนุมัติโครงการ และแผนการดูแลจำนวน 39 ราย จากเขต รพ.สต.ชะรัด 18 ราย เขต รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง 21 ราย งบประมาณทั้งสิ้น 234000 บาท

 

12 0

9. กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุน ต้นแบบและการจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.ชะรัด

วันที่ 15 กันยายน 2565 เวลา 07:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมเพื่อจัดทำแผนสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ ได้ประเด็นที่จะมาแก้ไขในปีงบประมาณ 2566 จำนวน 6 ประเด็น ดังนี้ 1.โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2.ภาวะไขมันในเลือดสูง 3.ผู้สูงอายุ 4.สิ่งแวดล้อม (ขยะ) 5.แก้ปัญหาในช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น (ยาเสพติด/เพศศึกษา) 6.สารเคมีตกค้าง และมีการนำเสนอและแนวทางแก้ไข เพื่อให้สามารถกลับมาเขียนโครงการขอรับการสนบัสนุนงบประมาณ ในพื้นที่ได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถนำประด็นทั้ง 6  ประเด็นมาเขียนโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จาก กองทุน สปสช ได้

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่ผู้ขอรับทุน
ตัวชี้วัด : 1.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 % 2.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถออกเงินสนับสนุนโครงการแก่ผู้รับทุน ภายใน เดือน มีนาคม จำนวน ร้อยละ 60 และภายในเดือน กรกฎาคม ร้อยละ 90
15.00 15.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ จำนวน 35 คน
35.00 35.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ มาจากหลายภาคส่วน
15.00 15.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จครบถ้วนทุกโครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
20.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 35

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่ผู้ขอรับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าใช้จ่ายในการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลชะรัด /คณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ/ผู้เข้าร่วมการ ประชุม/กิจกรรมการจัดทำแผนกองทุน/กิจกรรมการแลกเปลี่ยน เรียนรู้กองทุนต้นแบบ/ค่าเดินทางไปประชุม/อื่นๆ (2) การประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 5/2564 (3) ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1/2565 (4) ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2565 (5) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ ครั้งที่ 1/2565 (6) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2/2565 (7) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 3/2565 (8) ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 4/2565 (9) การประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2565 (10) กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุน ต้นแบบและการจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.ชะรัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด

รหัสโครงการ L3308-65-04-01 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

คณะกรรมการกองทุนได้มีการประชุม ได้มีการแลกเปลี่ยนแรียนรู้กองทุนต้นแบบ และเข้าใจระเบียบกองทุน

  • รูปถ่าย
  • รายงานการประชุม

ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนต้นแบบในทุกปี มีการทำแบบทดสอบความรู้ของคณะกรรมการกองทุนในทุกปี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

คณะกรรมการกองทุน คณะอนุ LTC มีความรู้เรื่องระเบียบกองทุน

-รายงานการประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3308-65-04-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุภาพร คงพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด