กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพ กรณีเกิดโรคระบาดหรือ ภัยพิบัติ
รหัสโครงการ 65 - L8010 - 5 - 01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง
วันที่อนุมัติ 17 กันยายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 87,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสำลี ลัคนาวงศ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2564 30 ก.ย. 2565 87,000.00
รวมงบประมาณ 87,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 14100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพ กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่

ร้อยละ 100 ของพื้นที่ได้รับการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพ กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 87,000.00 0 0.00
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ 0 87,000.00 -

ขั้นเตรียมการ

  1. จัดทำโครงการ/ขออนุมัติโครงการจากคณะกรรมการกองทุนฯ

  2. แต่งตั้งคณะกรรมการ

  3. ติดตามข้อมูลข่าวสารและสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง ทันเหตุการณ์

  4. สำรวจและประเมินสถานการณ์ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน

  5. ประชุม ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

  6. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อให้การสนับสนุนการดำเนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ

ขั้นดำเนินการ

  1. ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

ขั้นสรุปผลและประเมินผล

  1. สรุปผลการดำเนินงานของโครงการ

  2. ประเมินผลการดำเนินงานของโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ตามความจำเป็นและเหมาะสม
  2. สามารถแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินได้ทันท่วงทีและทั่วถึง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2564 10:23 น.