กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน


“ โครงการ ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตำบลสุคิริน ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอภิรดี ศรีสุวรรณ์

ชื่อโครงการ โครงการ ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตำบลสุคิริน ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L8281-1-03 เลขที่ข้อตกลง 3/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตำบลสุคิริน ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตำบลสุคิริน ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (2) เพื่อให้ประชาชนและเครือข่าย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถป้องกัน ดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อเสริมพลังให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ด้วยวัคซีนป้องกันโรคโควิค 19 (2) เสริมพลังให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเคร่งครัด (3) สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและเครือข่าย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในการป้องกันควบคุมโรคโควิค 19

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีการแพร่ระบาดในวงกว้างไปทั่วโลก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น องค์การอนามัยโลก (WHO)ได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศสำหรับประเทศไทยเองก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 กระทรวงสาธารณสุข ได้ประกาศให้เป็นโรคติดต่ออันตราย ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2563 เป็นต้นมา ได้ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างกว้างขวาง รุนแรงและต่อเนื่อง ทั้งด้านสุขภาพ ระบบบริการสาธารณสุข เศรษฐกิจสังคม และความมั่นคงของประเทศศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 ทุกระดับ มีการบริหารจัดการทรัพยากรภายใต้ข้อจำกัดและขาดแคลน โดยพิจารณาอย่างรอบด้านทุกมิติและประสานเชื่อมโยงเพื่อนำไปสู่การคิดมาตรการและข้อเสนอเชิงนโยบายในการปกป้องสุขภาพคนไทยทุกคน ปัจจุบันสถานการณ์ในประเทศไทยเริ่มดีขึ้นตามลำดับ โดยในระยะเวลาที่ผ่านมาประเทศไทยถือได้ว่าสามารถบริหารจัดการวิกฤติโควิค – 19 ได้อย่างดีจนเป็นที่ยอมรับไปทั่วโลก
การใช้แนวทางมาตรการการป้องกันควบคุมโรค เช่น คัดกรองและเฝ้าระวังโรค กักตัวผู้มีความเสี่ยง รักษาระยะห่างระหว่างบุคคล สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า งดจัดกิจกรรมที่รวมกลุ่มคนจำนวนมาก ทำความสะอาดสถานที่และพื้นผิวสัมผัส การรณรงค์ประชาสัมพันธ์การฉีดวัคซีนให้ได้ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 80 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันหมู่เป็นเกราะป้องกัน ในการลดความรุนแรงของโรค การเฝ้าระวังป้องกันโรค COVID-19 จึงจำเป็นต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักในการฉีดวัคซีนและการดูแลเฝ้าระวัง การปฏิบัติตนอย่างเข็มงวด ด้วยมาตรการส่วนบุคคล มาตรการสำหรับองค์กร(COVID Free Setting) และ Universal Prevention (การป้องกันการติดเชื้อแบบครอบจักรวาล)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสว.นอก รับผิดชอบ ดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข และการควบคุมป้องกันโรคพื้นที่ตำบลสุคิริน จำนวน 3 หมู่บ้าน (หมู่ 2 บ้านสว.นอก หมู่ 8 บ้านราษฎร์ผดุง หมู่ 11 บ้านซอยปราจีน)ประชากร จำนวน 959 คน มีจำนวน 235 หลังคาเรือน จากสถานการณ์โรคโควิด–19 (ในเขตรับผิดชอบ)ข้อมูล ณ วันที่ 26 มิถุนายน 2564 ถึงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2564 มีผู้ป่วยยืนยันสะสม จำนวน 21 ราย ผู้สัมผัสเสี่ยงกักตัวที่ HQ จำนวน 146 ราย ดำเนินการฉีดวัคซีนโควิด-19 ไปแล้ว ร้อยละ 98.72ดังนั้น เพื่อการป้องกันและการควบคุมโรคโควิด –19ไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดขึ้นในพื้นที่ตำบลสุคิริน จึงจำเป็นต้องรณรงค์ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนให้ประชาชนได้ฉีดวัคซีนอย่างต่อเนื่องและครอบคลุมเพิ่มมากขึ้น ตามแผนและแนวทางการฉีดวัคซีนของกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงผู้สูงอายุ ผู้มีโรคประจำตัว และหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งมีโอกาสติดเชื้อมากกว่าบุคคลทั่วไป การเสริมพลังให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน นำมาตรการส่วนบุคคล มาตรการสำหรับองค์กร มาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรค COVID-19 และลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต สามารถปรับตัวอยู่ในสังคมได้ในแบบวิถีชีวิตใหม่ได้อย่างปกติสุข ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
  2. เพื่อให้ประชาชนและเครือข่าย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถป้องกัน ดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อเสริมพลังให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ด้วยวัคซีนป้องกันโรคโควิค 19
  2. เสริมพลังให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเคร่งครัด
  3. สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและเครือข่าย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในการป้องกันควบคุมโรคโควิค 19

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 52
กลุ่มวัยทำงาน 362
กลุ่มผู้สูงอายุ 173
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 3
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 37
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนและเครือข่ายสุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจ ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามมาตรการส่วน บุคคล มาตรการสำหรับองค์กร มาใช้เป็นแนวทางในการดูแลป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรค COVID-19 สามารถปรับตัวอยู่ในสังคมได้ในแบบวิถีชีวิตใหม่ได้อย่างปกติสุข 2.ไม่เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ด้วยวัคซีนป้องกันโรคโควิค 19

วันที่ 11 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.สำรวจจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องฉีดวัคซีนไวรัสโคโรนา 2019  แยกตามกลุ่มเป้าหมาย รายหมู่บ้าน             -กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป  ผู้มีโรคประจำตัว 7 โรค  หญิงตั้งครรภ์ อายุ 12-18 ปี  19-59 ปี
2.วิเคราะห์ข้อมูล จำแนกชนิดวัคซีน จำนวนที่กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีน เข็ม 1  เข็ม 2 เข็ม 3 และผู้ที่ยังไม่ได้รับวัคซีน 3.บริหารจัดการวัคซีน  จัดทำแผนการฉีดวัคซีน (เข็ม 1  และเข็มกระตุ้น)
4.สื่อสาร ประชาสัมพันธ์  วัน เวลา สถานที่ ฉีดวัคซีน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ด้วยวัคซีนป้องกันโรคโควิค 19  อสม.เดินเคาะประตูบ้าน เพื่อเชิญชวนติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนตามแผน กลุ่มเป้าหมายมารับการฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้น มีจำนวนความครอบคลุม ดังนี้
หมู่ 2 บ้านสว.นอก      ภาพรวม ร้อยละ  98.14
    -กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป        ร้อยละ  95.74               ผู้มีโรคประจำตัว 7 โรค ร้อยละ  100               หญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ  100               อายุ 12-18 ปี  ร้อยละ  100               อายุ 19-59 ปี  ร้อยละ  98.89 หมู่ 8 บ้านราษฎร์ผดุง  ภาพรวม ร้อยละ  98.73
    -กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป        ร้อยละ  97.7               ผู้มีโรคประจำตัว 7 โรค ร้อยละ  100               หญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ  100               อายุ 12-18 ปี  ร้อยละ  100               อายุ 19-59 ปี  ร้อยละ  98.91 หมู่ 11 บ้านซอยปราจีน  ภาพรวม ร้อยละ  98.64     -กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป        ร้อยละ  100               ผู้มีโรคประจำตัว 7 โรค ร้อยละ  100               หญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ  100               อายุ 12-18 ปี  ร้อยละ  100               อายุ 19-59 ปี  ร้อยละ  97.73

 

0 0

2. เสริมพลังให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเคร่งครัด

วันที่ 3 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานความร่วมมือกับผู้นำชุมชนในพื้นที่ในการออกมาตรการทางสังคม เพื่อออกกฎระเบียบ เชิงบังคับในการเข้ารับบริการในสถานที่ชุมชน ดังนี้ -งดบริการสำหรับบุคคลไม่ปฏิบัติตามมาตรการ สำหรับการเข้ารับบริการในที่สาธารณะ หน่วยงานราชการ
-การปรับสิ่งแวดล้อมในพื้นที่สาธารณะ วัด สำนักสงฆ์ ตลาดนัด ร้านชำ ให้เป็นพื้นที่ COVID Free Setting

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การเสริมพลังให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยประสานความร่วมมือกับผู้นำชุมชนในพื้นที่ในการออกมาตรการทางสังคม มีการกำหนดกฎระเบียบในการเข้ารับบริการในสถานที่ชุมชน หน่วยงานราชการ ให้งดบริการสำหรับบุคคลไม่ปฏิบัติตามมาตรการ เช่นคนไม่ฉีดวัคซีน ไม่สวมหน้ากากอนามัย ไม่ล้างมือ ตลอดจนการปรับสิ่งแวดล้อมในพื้นที่สาธารณะ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด สำนักสงฆ์ ตลาดนัด ร้านชำ ให้เป็นพื้นที่ COVID Free Setting ให้เอื้อต่อการใช้พื้นที่อย่างปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งได้รับความร่วมมือในการปฏิบัติเป็นอย่างดี ส่งผลให้ประชาชนยอมรับและมีการปฏิบัติในการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

0 0

3. สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและเครือข่าย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในการป้องกันควบคุมโรคโควิค 19

วันที่ 9 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ให้ความรู้อสม.และเครือข่ายเพื่อให้สามารถไปดูแล แนะนำส่งเสริมประชาชนในชุมชนให้มีความเข้าใจใน มาตรการ การควบคุมป้องกันโรค สามารถนำไปปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ  ดังนี้       -มาตรการส่วนบุคคล Universal Prevention (การป้องกันการติดเชื้อแบบครอบจักรวาล)       -มาตรการสำหรับองค์กร(COVID Free Setting) ที่เกี่ยวข้อง (วัด สำนักสงฆ์ ตลาดนัด ร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร) 2.ให้ความรู้ “การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโควิด-19 ด้วยสมุนไพรไทย” 3.จัดทำป้ายโฟมบอร์ด “มาตรการ” เพื่อใช้เป็นสื่อประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนและเครือข่าย 4.จัดซื้อวัสดุควบคุมป้องกันโรคเพื่อสนับสนุนเครือข่ายให้ดำเนินการปฏิบัติตามแนวทางมาตรการป้องกันโรค ส่วนบุคคลและพื้นที่ COVID Free Setting (อสม. หมู่บ้าน วัด  สำนักสงฆ์)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและเครือข่าย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในการป้องกันควบคุม โรคโควิค -19 อสม.และเครือข่าย จำนวน 22 คน มีองค์ความรู้  เพื่อให้สามารถไปดูแล แนะนำส่งเสริมประชาชนในชุมชนให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการการควบคุมป้องกันโรค ในมาตรการส่วนบุคคล Universal Prevention (การป้องกันการติดเชื้อแบบครอบจักรวาล)มาตรการสำหรับองค์กร(COVID Free Setting)ที่เกี่ยวข้อง กับศพด. วัด ร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร สามารถนำไปปฏิบัติตามมาตรการควบคุมป้องกันโรคได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ พร้อมให้ความรู้“การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโควิด-19 ด้วยสมุนไพรไทย”ในการดูแลตนเองเบื้องต้นได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ประชาชนและเครือข่ายสุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจ ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามมาตรการส่วน บุคคล มาตรการสำหรับองค์กร มาใช้เป็นแนวทางในการดูแลป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรค COVID-19 สามารถปรับตัวอยู่ในสังคมได้ในแบบวิถีชีวิตใหม่ได้อย่างปกติสุข 2.ไม่เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
ตัวชี้วัด : ไม่พบอัตราการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 รายใหม่
21.00 0.00 34.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนและเครือข่าย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถป้องกัน ดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชนและเครือข่ายสุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ร้อยละ 80
627.00 80.00 617.00

 

3 เพื่อเสริมพลังให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
ตัวชี้วัด : บุคคลในครอบครัว ชุมชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ร้อยละ
627.00 80.00 617.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 627 617
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 52 52
กลุ่มวัยทำงาน 362 355
กลุ่มผู้สูงอายุ 173 170
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 3 3
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 37 37
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (2) เพื่อให้ประชาชนและเครือข่าย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถป้องกัน ดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อเสริมพลังให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ด้วยวัคซีนป้องกันโรคโควิค 19 (2) เสริมพลังให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเคร่งครัด (3) สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและเครือข่าย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในการป้องกันควบคุมโรคโควิค 19

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตำบลสุคิริน ปีงบประมาณ 2565

รหัสโครงการ 65-L8281-1-03 รหัสสัญญา 3/2565 ระยะเวลาโครงการ 10 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตำบลสุคิริน ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L8281-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอภิรดี ศรีสุวรรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด