กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์
0.00

 

 

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง ( 11 ชุมชน ) ได้รับการดูแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์) ครั้งที่ 1 เมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า12 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 เมื่ออายุครรภ์ 12 < 20 สัปดาห์ ครั้งที่ 3 เมื่ออายุครรภ์ 20 < 26 สัปดาห์ ครั้งที่ 4 เมื่ออายุครรภ์ 26 < 32 สัปดาห์ ครั้งที่ 5 เมื่ออายุครรภ์ 32 - 40 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาล นครตรัง ( 11 ชุมชน ) ได้รับการดูแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์)
0.00

 

 

 

3 เพื่อให้ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง ( 11 ชุมชน ) มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิดในเขตเทศบาลนครตรัง ( 11 ชุมชน ) มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7
0.00

 

 

 

4 หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ไม่มีภาวะโลหิตจาง (Hct ≥ 33%)
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง(11 ชุมชน)ทุกคน ได้รับการดูแลรับประทานยาเม็ดเสริมไอโอดีน (150 – 200 ไมโครกรัม) ธาตุเหล็ก 60 มิลลิกรัม และโฟเลต 400 ไมโครกรัมและมีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ 18
0.00

 

 

 

5 หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน)ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงทุกคน ได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
0.00

 

 

 

6 มารดาและทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของมารดาและทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง(11 ชุมชน) ได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์
0.00