กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม./ จิตอาสาในชุมชน ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกแรกเกิด 7 ม.ค. 2565 2 มิ.ย. 2565

 

  1. ประชุมทีมพยาบาลประจำชุมชน และแกนนำชุมชน/อสม. ในการจัดทำโครงการครรภ์คุณภาพ
  2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  3. ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
  4. วิเคราะห์ติดตามผลการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ
  5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

 

โรงพยาบาลตรังดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมในวันที่ 2 มิถุนายน 2565 ณ ที่ทำการชุมชนควนขนุน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน

 

กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดในชุมชน 7 ม.ค. 2565 7 ม.ค. 2565

 

  1. ประชุมทีมพยาบาลประจำชุมชน และแกนนำชุมชน/อสม. ในการจัดทำโครงการครรภ์คุณภาพ
  2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  3. ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
  4. วิเคราะห์ติดตามผลการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ
  5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

 

ดำเนินการลงติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์มารดาและทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรังติดตามดูแลเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านจำนวนทั้งสิ้น 38 คน พบว่ามีหญิงตั้งครรภ์อยู่ในพื้นที่จริงจำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 65.79 ติดตามดูแลเยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 88

 

กิจกรรมติดตามประเมินการดำเนินงาน อสม./จิตอาสาในชุมชน พร้อมให้ความรู้ 7 ม.ค. 2565 7 ม.ค. 2565

 

  1. ประชุมทีมพยาบาลประจำชุมชน และแกนนำชุมชน/อสม. ในการจัดทำโครงการครรภ์คุณภาพ
  2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  3. ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
  4. วิเคราะห์ติดตามผลการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ
  5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

 

จัดกิจกรรมติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 25 เมษายน 2565 ณ ที่ทำการชุมชนควนขนุน มีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการติดตามประเมินการดำเนินงานจำนวน 30 คน และจัดกิจกรรมครั้งที่ 2 ในวันที่ 9 มิถุนายน 2565 ณ ที่ทำการชุมชนควนขนุน มีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการติดตามประเมินการดำเนินงานจำนวน 30 คน จากการติดตามพบว่า 1 หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11ชุมชน) ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 77.23 (จากมารดาคลอดทั้งหมดหมด 22 คน) 2.หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการฝากครรภ์ 5 ครั้งครบตามเกณฑ์ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 77.27 จากมารดาที่คลลอดทั้งหมด 3. เด็กแรกเกิดในเขตเทศบาลนครตรัง (11ชุมชน) มีน้ำหนักมากว่า 2,500 กรัม จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 81.82 4. หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทสบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับประทานยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟเลต ทุกคน พบหญิงตั้งครรภ์มีภาวะเลือดจากจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 13.64 5. หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลลนครตรัง (11 ชุมชน) มีภาวะครรภ์เสี่ยงจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 9.09 (มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ 1 คน และมีภาวะติดเชื้อโควิด-19 ขณะตั้งครรภ์ 1 คน) ทั้ง2 คนได้รับฝากครรภ์ที่คลีนิคครรภ์เสี่ยง และไม่พบภาวะแทรกซ้อน ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยทั้ง 2 คน 6.มารดาและทารกแรกคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ จำนวน 20 คนคิดเป็นร้อยละ 90.91