กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายนักเรียนโรงเรียนวัดโพรงงู
รหัสโครงการ 65-L3367-2-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดโพรงงู
วันที่อนุมัติ 24 พฤษภาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2565
งบประมาณ 20,975.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวปรีดา ชูศรี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 18 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

ระบุ

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 102 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มวัยทำงาน 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
41.60
2 จำนวนตัวแทนกลุ่มนักเรียนที่เป็นผู้นำด้านการออกกำลังกายและกีฬา (กลุ่ม)
1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยโรงเรียนวัดโพรงงู มีจำนวนนักเรียน อายุ 5 - 13 ปี จำนวน 120 คน โดยนักเรียนที่มีกิจกรรมทางกาย อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน มีจำนวน 50 คนเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 1019 มีผลกระทบต่อการเรียนการสอนมาเป็นระยะเวลายาวนาน และคาดว่ายังคงมีการติดเชื้อเพิ่มขึ้น นักเรียนในโรงเรียนมีความเสี่ยงสูง ทำให้การเปิดเรียนแบบ On-side ยังไม่สามารถทำได้เต็มรูปแบบ ต้องสลับกับการเรียนแบบ Online เด็กนักเรียนต้องใช้เวลากับการเรียนออนไลน์ มีเวลาในการเล่น ออกกำลังกาย น้อยมาก หรือบางคนไม่มีเลย ทั้งนี้เมื่อมีการเปิดเรียนแบบ On-side โรงเรียนก็ต้องมีมาตรการป้องกันโรคต้องลดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพื่อลดการสัมผัสให้มากที่สุด จึงมีความจำเป็นต้องจัดโครงการเพื่อหาวิธีการ แผนดำเนินการให้เด็กได้มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

41.60 90.00
2 จัดตั้งตัวแทนกลุ่มนักเรียนตามรูปแบบกิจกรรมหรือประเภทกีฬา

มีตัวกลุ่มหรือผู้นำกลุ่มนักเรียนในการทำกิจกรรมหรือกีฬา อย่างน้อย 3 ประเภท

1.00 3.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,975.00 2 179,375.00
20 พ.ค. 65 ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ 0 0.00 -
27 พ.ค. 65 สร้างความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมาย และสรรหาแกนนำกลุ่มส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 0 3,375.00 3,375.00
30 พ.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 พัฒนาหลักสูตรและบูรณาการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 0 0.00 -
1 มิ.ย. 65 - 30 ก.ย. 65 ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายของแต่ละกลุ่ม 0 17,600.00 176,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข
2.สร้างผู้นำนักเรียนในการทำกิจกรรม 3.เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเพื่อนนักเรียน 4.นักเรียนมีร่างกายแข็งแรงเพิ่มภูมิคุ้มกันโรค

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ม.ค. 2565 13:06 น.