กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ร่วมมือป้องกันและลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ภายในโรงเรียน (โรงเรียนป่าเรียนวิทยา)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนป่าเรียนวิทยา
วันที่อนุมัติ 25 มกราคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 33,150.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายดลฮาเฉม หมอเต๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.04528215,100.3926905place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2565 31 ต.ค. 2565 33,150.00
รวมงบประมาณ 33,150.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา หรือ โควิด 19 ในประเทศไทยอย่างแพร่หลายในทุกสถานที่ ทำให้สถานที่ต่าง ๆ ต้องมีมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส และหนึ่งในสถานที่ที่ทางภาครัฐได้ออกมาตรการอย่างเคร่งครัด คือ โรงเรียน ซึ่งโรงเรียนเป็นแหล่งรวมตัวของนักเรียน ครู และบุคลากรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดการรวมตัวและทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น การเรียน เล่น รับประทานอาหาร ซึ่งการพบปะกันในลักษณะนี้มีโอกาสเสี่ยงต่อการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสโควิด 19 ได้ง่าย       ดังนั้นโรงเรียนป่าเรียนวิทยา ตระหนักและให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพของนักเรียน ครู และบุคลากร ในการร่วมมือป้องกันโควิด 19 จึงได้จัดทำโครงการร่วมมือป้องกันและลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 นี้ขึ้นภายในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง แต่ด้วยทางโรงเรียนยังขาดงบประมาณในส่วนนี้อยู่ จึงได้เขียนโครงการ ฯ ขอความอนุเคราะห์งบประมาณของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) จากเทศบาลตำบลท่าช้าง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2. เพื่อให้นักเรียนห่างไกลจากโรคภัยต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้จากเชื้อโรค 3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักดูแลตนเองและป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากเชื้อไวรัสที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้
  1. นักเรียนในสถานศึกษาตระหนักถึงการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19
  2. นักเรียนและสถานศึกษาตลอดจนบุคลากรที่เกี่ยวข้องปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 ร่วมมือป้องกันและลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ภายในโรงเรียน(1 มิ.ย. 2565-31 ต.ค. 2565) 33,150.00        
รวม 33,150.00
1 ร่วมมือป้องกันและลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ภายในโรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 140 33,150.00 0 0.00
1 มิ.ย. 65 - 31 ต.ค. 65 ร่วมมือป้องกันและลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ภายในโรงเรียน 140 33,150.00 -
  1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประชุมคณะครู
  3. ดำเนินการตามขั้นตอน
  4. ประเมินผล รายงานผลการดำเนินการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนในสถานศึกษาตระหนักถึงการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19
  2. นักเรียนและสถานศึกษาตลอดจนบุคลากรที่เกี่ยวข้องปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ก.พ. 2565 12:11 น.