กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักอินทรีย์เพื่อสุขภาพ ชุมชนบ้านทุ่งโดน 4
รหัสโครงการ 65-L7257-2-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มหมู่บ้านทานตะวันชุมชนบ้านทุ่งโดน 4
วันที่อนุมัติ 24 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 24 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 14,350.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนฤทัย สมฤดี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 24 ก.พ. 2565 30 ก.ย. 2565 14,350.00
รวมงบประมาณ 14,350.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละ ของผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการปลูกผักอินทรีย์ เพื่อสุขภาพ
20.00
2 ร้อยละของครัวเรือนมีการนำปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้จากการหมักมาใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ
15.00
3 ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์
20.00
4 ร้อยละ ของครัวเรือนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
20.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันพืชผักที่นำมาใช้ประกอบอาหารในครัวเรือน เป็นผักที่ซื้อมาจากท้องตลาด ซึ่งผักส่วนใหญ่มีการปนเปื้อนสารเคมีเพื่อป้องกันและกำจัดแมลงฉีดพ่นในปริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของท้องตลาด แม้จะมีการล้างทำความสะอาดอย่างดี อย่างไรก็ตามยังไม่สามารถชะล้างสารตกค้างออกได้ทั้งหมด ส่งผลให้ผู้บริโภคอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากการบริโภคพืชผักและผลไม้ที่ไม่ปลอดภัย ทำให้มีการสะสมสารพิษในร่างกายอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคภัยต่าง ๆ ได้ ซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาว แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการรณรงค์ส่งเสริมในเรื่องการลดละเลี่ยงเลิกการใช้สารพิษในการเกษตร

การส่งเสริมให้ประชาชนปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือนเพื่อเอาไว้รับประทาน เพื่อความปลอดภัยทางด้านสุขภาพของผู้บริโภค เพื่อให้มีผักที่สะอาดปลอดสารพิษ ปลอดภัยจากสารเคมี ของผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม

เทศบาลเมืองคอหงส์ ได้ดำเนินกิจกรรม การมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน ในการลดคัดแยกขยะ โดยชุมชนบ้านทุ่งโดน 4 บริเวณหมู่บ้านทานตะวัน โดยจัดทำถังขยะอินทรีย์ในครัวเรือน ได้ผลผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์สำหรับการเพาะปลูก

ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน เทศบาลเมืองคอหงส์จึงได้จัดทำโครงการอบรมส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ในครัวเรือน โดยใช้วัสดุเหลือใช้เป็นภาชนะในการปลูก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่ออบรมให้ความรู้ เรื่อง การปลูกผักอินทรีย์ เพื่อสุขภาพ

ร้อยละของผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการปลูกผักอินทรีย์ เพื่อสุขภาพ เพิ่มขึ้น

20.00 80.00
2 เพื่อนำขยะอินทรีย์ในครัวเรือนมาทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ เพื่อใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือนหรือรั้วบ้าน สร้างการบริโภคที่ปลอดสารพิษและสุขภาพที่ดี สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค

ร้อยละของครัวเรือนมีการนำปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้จากการหมักมาใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ สร้างการบริโภคที่ดีปลอดสารพิษและมีสุขภาพที่ดีเพิ่มขึ้น

15.00 50.00
3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น

20.00 80.00
4 เพื่อให้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ ส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายที่ดีเพิ่มขึ้น

ร้อยละของครัวเรือนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ ส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายที่ดีเพิ่มขึ้น

20.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 20 14,350.00 1 13,904.00
13 พ.ค. 65 อบรมเชิงปฏิบัติการ 20 14,350.00 13,904.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ครัวเรือนสามารถผลิตผักปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในครัวเรือน
  2. สามารถนำขยะอินทรีย์เปลี่ยนเป็นปุ๋ยพืชผักและดินสำหรับปลูกพืช
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.พ. 2565 20:04 น.