กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความรู้ สู่ผู้บริโภค ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย
รหัสโครงการ 65-L5200-2-37
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มร่วมคิด ร่วมทำ นาทวี ยั่งยืน
วันที่อนุมัติ 28 มกราคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 สิงหาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายโสภณ แก้วทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบัน พบว่าคนไทยในปัจจุบัน มีความเสี่ยงต่อการได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชมากกว่า 2.6 กิโลกรับต่อปี การใช้สารเคมีในการเกษตรเริ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเกษตรที่พึ่งพาตนเองและธรรมชาติ การผลิตเพื่อ
  การบริโภค เป็นการเกษตรอุตสาหกรรมเพื่อการค้า การผลิตที่เน้นปริมาณแต่ขาดการคำนึงถึงคุณภาพและมีความเสี่ยง ปนเปื้อนสารเคมีต่าง ๆ เช่น สารปรุงแต่ง สารกันเสีย สารฟอกขาว ยาฆ่าแมลง ยากำจัดศัตรูพืช เป็นต้น การบริโภคสินค้าเกษตรที่มีสารเคมี จึงสร้างปัญหาสุขภาพทั้งโรคเฉียบพลัน เช่น อาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว ปวดกล้ามเนื้อ ท้องร่วง หายใจติดขัด ตาพร่ามัว และโรคเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง เบาหวาน อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคผิวหนัง การพิการของเด็กแรกเกิดและเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ เป็นต้น การสนับสนุนให้ประชาชนหันมาใส่ใจใน ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการใช้สารเคมีในภาคการเกษตรจึงเป็น เมื่อประชาชนได้บริโภคผักผลไม้และผลผลิตทาง การเกษตรที่ปลอดสารพิษก็ทำให้ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนลดน้อยลง หันมาปลูกผักกินเอง พึ่งพาตนเองในครัวเรือน ส่งผลให้ปัญหาสุขภาพต่างๆ ลดน้อยลง คุณภาพชีวิตประชาชนดีขึ้น จึงเป็นการแก้ปัญหา สุขภาพชีวิตอย่างยั่งยืน   จึงได้ดำเนินการจัดทําโครงการเพื่อเสริมสร้าง ชี้แนวทางในการดำเนินชีวิต ภาคการเกษตรที่พึ่งพาตนเองใน ครัวเรือนโดยใช้หลักเกณฑ์ต่างๆ มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งจะส่งผลในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้แกนนำประชาชนและประชาชนทั่วไปได้มีความรู้ความเข้าใจในการปรับปรุงพื้นที่ในการจัดทำโคกหนองนาโมเดลแหล่งอาหารปลอดภัย 2.เพื่อให้แกนนำภาคประชาชนและประชาชนทั่วไป มีความรู้ในการทำนาข้าวปลอดสารพิษ 3.เพื่อให้แกนนำภาคประชาชนและประชาชนทั่วไป เข้าใจและดำรงชีวิตแบบเกษตรผสมผสาน 4.เพื่อให้แกนนำภาคประชาชนและประชาชนทั่วไป มีการปลูกผัก การขยายพันธ์พืชทำให้มีอาหารพืชผักปลอดสารพิษ 5.เพื่อให้แกนนำภาคประชาชนและประชาชนทั่วไป มีสุขภาพที่แข็งแรง ได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารปนเปื้อน แก้ไขปัญหาสุขภาพ ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

1.เพื่อให้แกนนำภาคประชาชนและประชาชนทั่วไป

2.แกนนำภาคประชาชนและประชาชนทั่วไป มี ความรู้ในการทำนาข้าวปลอดสารพิษ สามารถ ปลูกข้าวโดยหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีในนาข้าว

3.แกนนำภาคประชาชนและประชาชนทั่วไป เข้าใจ และดำรงชีวิตแบบเกษตรผสมผสาน

4.แกนนำภาคประชาชน และประชาชนทั่วไป มีการ พืชผักปลอด ปลูกผัก สามารถขยายพันธุ์พืชทำให้มีอาหารพืชผัก ปลอดสารพิษรับประทานในครัวเรือนอย่าง เพียงพอ

5.แกนนำภาคประชาชน และประชาชนทั่วไป มีสุขภาพที่แข็งแรง ได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสาร ปนเปื้อน แก้ไขปัญหาสุขภาพ ทำให้มีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. จัดฝึกอบรมและให้ความรู้แก่แกนนำภาคประชาชน
  • ติดต่อประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย
  • จัดเตรียมสถานที่ วัสดุอุปกรณ์
  • จัดอบรมตามแผน
  1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการดำเนินการโครงการ

- ขออนุมัติจัดซื้อจัดจ้าง
- ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบฯ

  1. การจัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำภาคประชาชน

- จัดทําแผนกําหนดการฝึกอบรมฯ
- ติดต่อประสานงานกับกลุ่มเป้าหมายและวิทยากร - จัดเตรียมสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ - บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการตามโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แกนนำภาคประชาชนและประชาชนทั่วไป ได้มีความรู้ความเข้าใจในการปรับปรุงพื้นที่ในการจัดทำโคก หนองนาโมเดลแหล่งอาหารปลอดภัย

  2. แกนนำภาคประชาชนและประชาชนทั่วไป มีความรู้ในการทำนาข้าวปลอดสารพิษ

  3. แกนนําภาคประชาชนและประชาชนทั่วไป เข้าใจและดำรงชีวิตแบบเกษตรผสมผสาน

  4. แกนนำภาคประชาชน และประชาชนทั่วไป มีการปลูกผักการขยายพันธุ์พืชทำให้มีอาหารพืชผักปลอดสารพิษ

  5. แกนนำภาคประชาชน และประชาชนทั่วไป มีสุขภาพที่แข็งแรง ได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารปนเปื้อน แก้ไขปัญหาสุขภาพ ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ธ.ค. 2564 00:00 น.