กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชนห้องเรียนกัมปงสืบค้นทักษะชีวิต ต.สะเอะ
รหัสโครงการ 65-L4114-02-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ห้องเรียนกัมปงตำบลสะเอะ
วันที่อนุมัติ 23 มีนาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 8 เมษายน 2565 - 12 กรกฎาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 มิถุนายน 2565
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนาร์ดิน เทษา
พี่เลี้ยงโครงการ มาเรียม
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 23 มี.ค. 2565 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (30,000.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

ประชากรวัยเด็กและวัยรุ่นทั้งสิ้น 2,375 คนคิดเป็นร้อยละ 28.48 คนของประชากรทั้งหมด (8,338 คน) TCNAP 2564 จากการสำรวจข้อมูลพบว่าในช่วงสถานการ์ห้วงโควิดที่ผ่านมา เด็กและวัยรุ่นที่มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอจำนวน 594 คน

25.01
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

ประชากรวัยผู้ใหญ๋ 4,258 คน คิดเป็นร้อยละ 51.07 ของประชากรทั้งหมด (8,338 คน) : TCNAP 2564 จากการสำรวจข้อมูลพบว่าในช่วงสถานการ์ห้วงโควิดที่ผ่านมา ผู้ใหญ่ที่มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอจำนวน 2896 คน

68.01
3 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
72.00
4 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

จำนวนคนที่ไม่ออกกำลังกายที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป 393 คน คิดเป็นร้อยละ 32.80 ของประชากรทั้งหมด : TCNAP 2564

65.00
5 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม
25.00
6 จำนวนพื้นที่เรียนรู้ด้านการปลูกผักปลอดสารพิษ
5.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

25.01 26.27
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

68.01 69.66
3 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

72.00 75.00
4 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

65.00 70.00
5 เพื่อเพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

25.00 30.00
6 พื้นที่เรียนรู้ด้านการปลูกผักปลอดสารพิษ

มีแหล่งเรียนรู้ (ห้องเรียนเกษตร) สำหรับเด็กและเยาวขนในชุมชน

5.00 6.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
8 เม.ย. 65 อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย (1วัน) 30 8,450.00 8,450.00
9 เม.ย. 65 - 25 มิ.ย. 65 จิตอาสา ขยับกาย สร้างสุขชุมชน(สัปดาห์ละ 1 วันๆละอย่างน้อย 2 ชั่วโมง รวม 12 ครั้ง) 30 5,000.00 5,000.00
13 เม.ย. 65 - 29 มิ.ย. 65 ปลูกผักปลอดสารพิษ ไฮโดรโปนิกส์ระบบน้ำนิ่ง (แปลงสาธิตการปลูกผัก) 30 5,000.00 5,000.00
15 เม.ย. 65 อบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูการละเล่นพื้นบ้านเพื่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (1 วัน) 30 7,450.00 7,450.00
12 ก.ค. 65 มหกรรมพื้นที่สร้างสรรค์ กินผัก ขยับกายสร้างสุข (1 วัน) 100 4,100.00 -
รวม 220 30,000.00 4 25,900.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-เด็กและเยาวชนลดพฤติกรรมเหนื่อยนิ่งจากการเล่นเกมส์และมีกิจกรรมทางกายมากขึ้น -เกิดเยาวชนอาสาเป็นแกนนำในการละเล่นกีฬาหรือกิจกรรมพื้นบ้านเพื่อการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ -เด็กและเยาวชนหันมาบริโภคผักปลอดสารมากขึ้น -เกิดผลกระทบระดับชุมชนตระหนักและให้ความสำคัญในการมีกิจกรรมทางกายเพื่อตนเองและครอบครัว

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2565 14:10 น.