กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว


“ โครงการ หมู่บ้าน เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุก หมู่ที่ 6 ”

ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอามินทร์ ดินเตบ

ชื่อโครงการ โครงการ หมู่บ้าน เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุก หมู่ที่ 6

ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-l5310-2-6 เลขที่ข้อตกลง 8/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ หมู่บ้าน เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุก หมู่ที่ 6 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ หมู่บ้าน เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุก หมู่ที่ 6



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์ (2) เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส (2) กิจกรรมฆ่าเชื้อในครัวเรือนกรณีมีผู้ติดเชื้อในหมู่บ้าน รวมถึงจุดเสี่ยงอื่นๆในชุมชน (3) กิจกรรมคัดแยกขยะติดเชื้อในหมู่บ้าน/ชุมชน (4) กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) อยากให้มีการสนับสนุนการป้องกันโรคติดต่อในรูปแบบนี้ไปเรื่อยๆ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโคโรน่า หรือ COVID-19 เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ซึ่งพบการระบาดทุกพื้นที่ทั่วโลกรวมถึงในประเทศไทย ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก กระจายไปยังทุกพื้นที่เป็นบริเวณกว้างจนยากที่จะควบคุมได้ ส่งผลกระทบทั้งทางด้านสุขภาพ วิถีชีวิต การประกอบอาชีพ สังคมและเศรษฐกิจ ตัวเชื้อไวรัส COVID-19 มีการพัฒนากลายพันธุ์ตลอดเวลา ผู้ติดเชื้อจะมีอาการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรง หรือบางรายอาจไม่แสดงอาการปัจจุบันแม้ว่าจะใช้มาตรการป้องกันควบคุมโรคหลายมาตรการ เช่น คัดกรองและเฝ้าระวังโรค กักตัวผู้มีความเสี่ยง รักษาระยะห่างระหว่างบุคคล สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า งดจัดกิจกรรมที่รวมกลุ่มคนจำนวนมาก ทำความสะอาดสถานที่และพื้นผิวสัมผัส แต่ก็ยังไม่สามารถป้องกันและควบคุมโรคให้หมดไป ๑๐๐ % ได้ หมู่ที่ 6 ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล มีประชากรจำนวน 982 คน มีจำนวน 294 หลังคาเรือน (ข้อมูลทะเบียนราษฎ์อำเภอละงู ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2564) จากสถานการณ์โรคโควิดตำบลเขาขาว ณ วันที่ 4 มกราคม 2565 พบว่า ตำบลเขาขาวมีผู้ป่วยยืนยันสระสมตั้งแต่เดือนเมษายน ๒๕๖๔ จำนวน 233 ราย (ข้อมูลจากศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 อำเภอละงู ณ วันที่ 4 มกราคม 2565) และมีแนวโน้มการระบาดที่ไม่แน่นอนในอนาคต คณะกรรมการหมู่บ้านหมู่ที่ 6 ต.เขาขาว ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เป็นการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุกในหมู่บ้าน แก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันและลดการแพร่ระบาดของโรคในในพื้นที่ เพื่อประชาชนในพื้นที่จะได้กลับมาใช้ชีวิตประจำวันเหมือนเดิมและปกติสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์
  2. เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส
  2. กิจกรรมฆ่าเชื้อในครัวเรือนกรณีมีผู้ติดเชื้อในหมู่บ้าน รวมถึงจุดเสี่ยงอื่นๆในชุมชน
  3. กิจกรรมคัดแยกขยะติดเชื้อในหมู่บ้าน/ชุมชน
  4. กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน
  5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 982
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์ 2.ลดปัญหาครัวเรือนได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา 3.อัตราการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ในหมู่บ้านลดลง 4.ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคอย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ กลับมาประกอบอาชีพตามวิถีชีวิต และใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างปกติสุขต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส       *ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการจำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท       *ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ มื้อละ 60 บาท จำนวน 20 คน จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท       *ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน 20 คน จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 1,000 บาท       *ค่าวัสดุอุปกรณ์สำหรับผู้เข้าร่วมอบรม(เช่น สมุด ปากกา แฟ้มเอกสาร เป็นต้น) คนละ 1 ชุด ชุดละ 50 บาท จำนวน 20 คน เป็นเงิน 1,000 บาท       *ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 5 ชั่วโมง ชั่งโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการ คณะทำงาน แกนนำเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคในหมู่บ้าน มีความรู้ความเข้าใจและทักษะ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา เชิงรุกในหมู่บ้าน / ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา และมีอัตราการติดเชื้อในหมู่บ้านลดลง

 

0 0

2. กิจกรรมฆ่าเชื้อในครัวเรือนกรณีมีผู้ติดเชื้อในหมู่บ้าน รวมถึงจุดเสี่ยงอื่นๆในชุมชน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พ่นยาฆ่าเชื้อในครัวเรือนกรณีมีผู้ติดเชื้อในหมู่บ้าน รวมถึงจุดเสี่ยงอื่นๆในชุมชน เช่น มัสยิด อาคารเอนกประสงค์ เป็นตัน     ค่าซื้อถังพ่นนำ้ยาขนาด 12 ลิตร จำนวน 2 ถัง ถังละ 1,500 เป็นเงิน 3,000 บาท     ค่าน้ำยาพ่นฆ่าเชื้อ 5 ลิตร/แกลอน จำนวน 2 แกลลอนๆละ 1,250 บาทเป็นเงิน 2,500 บาท     ค่าชุด PPE ชุดละ 200 บาท จำนวน 30 ชุด เป็นเงิน 6,000 บาท     ค่าเฟชชิว อันละ 25 บาท จำนวน 30 อัน เป็นเงิน 750 บาท   รองเท้าบูช คู่ละ 280 บาท จำนวน 10 คู่ เป็นเงิน 2,800 บาท   ค่าหน้ากากอนามัย กล่องละ 100 บาท จำนวน 50 กล่อง เป็นเงิน 5,000 บาท   ค่าถุงมือยาง กล่องละ 250 บาทจำนวน 8 กล่อง เป็นเงิน 2,000 บาท   ค่าถุงแดงสำหรับใส่ขยะติดเชื้อแพ็คละ 69 บาท จำนวน 15 แพ็ค เป็นเงิน 1,035 บาท   ถุงดำสำหรับขยะทั่วไปที่ใช้ในกิจกรรมป้องกันควบคุมโรคแพ็คละ 59 บาทจำนวน 4 แพ็ค เป็นเงิน 236 บาท   ค่าแอลกอฮอล์ล้างมือ ขนาด 500 มล. จำนวน 40 ขวด ขวดละ 120 เป็นเงิน 4,800 บาท   ค่าสเปรย์แอลกอฮอล์ล้างมือ 100 มล. จำนวน 20 ขวดละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท   ชุดตรวจ ATK จำนวน 40 ชุด ชุดละ 100 เป็นเงิน 4,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วัสดุอุปกรณ์สำหรับการป้องกันควบคุมโรค ประชาชนในหมู่บ้านที่ติดเชื้อและกลุ่มเสี่ยง ได้รับการป้องกันควบคุมโรค / ลดการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อในหมู่บ้านไม่ให้กระจายเป็นวงกว้าง

 

0 0

3. กิจกรรมคัดแยกขยะติดเชื้อในหมู่บ้าน/ชุมชน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดการแยกขยะติดเชื้อในชุมชนให้ถูกต้อง เพื่อนำไปกำจัดอย่างถูกต้องวิธีต่อไป - จัดซื้อถังขยะติดเชื้อ ขนาด 120 ลิตร จำนวน 1 ถังๆละ 1,750 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีถังขยะติดเชื้อประจำหมู่บ้าน / ขยะติดเชื้อได้รับการกำจัดอย่างถูกวิธีลดการแพร่กระจายเชื้อโรคในหมู่บ้านชุมชน

 

0 0

4. กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน       *ติดป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน ตามจุดที่เหมาะสมน่าสนใจ จำนวน2จุด       *ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน ขนาด 1.2 X 2.4 เมตร จำนวน 2 ป้าย ป้ายละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน กระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญ / ประชาชนตระหนัก เห็นความสำคัญและให้ความร่วมมือในการเฝ้าระวัง ป้องกันโรค ส่งผลให้อัตราการติดเชื้อในหมู่บ้านลดลง

 

0 0

5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส

วันที่ 20 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการจำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ มื้อละ 60 บาท จำนวน 20 คน จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน 20 คน จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 1,000 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์สำหรับผู้เข้าร่วมอบรม(เช่น สมุด ปากกา แฟ้มเอกสาร เป็นต้น) คนละ 1 ชุด ชุดละ 50 บาท จำนวน 20 คน เป็นเงิน 1,000 บาท ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 5 ชั่วโมง ชั่งโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการ คณะทำงาน แกนนำเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคในหมู่บ้าน มีความรู้ความเข้าใจและทักษะ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา เชิงรุกในหมู่บ้าน / ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา และมีอัตราการติดเชื้อในหมู่บ้านที่ลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์
100.00 100.00 100.00

 

2 เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ทั้งทางกาย จิต สังคม และปัญญาลดลง
100.00 80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 982 982
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 982 982
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์ (2) เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส (2) กิจกรรมฆ่าเชื้อในครัวเรือนกรณีมีผู้ติดเชื้อในหมู่บ้าน รวมถึงจุดเสี่ยงอื่นๆในชุมชน (3) กิจกรรมคัดแยกขยะติดเชื้อในหมู่บ้าน/ชุมชน (4) กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) อยากให้มีการสนับสนุนการป้องกันโรคติดต่อในรูปแบบนี้ไปเรื่อยๆ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

-

-

-


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ หมู่บ้าน เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุก หมู่ที่ 6

รหัสโครงการ 65-l5310-2-6 รหัสสัญญา 8/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ หมู่บ้าน เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุก หมู่ที่ 6 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-l5310-2-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอามินทร์ ดินเตบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด