กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โรงเรียนยาบีบรรณวิทย์ New Normal ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายกามารูดิน ยามา

ชื่อโครงการ โรงเรียนยาบีบรรณวิทย์ New Normal ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19)

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3070-5-3 เลขที่ข้อตกลง 03/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนยาบีบรรณวิทย์ New Normal ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนยาบีบรรณวิทย์ New Normal ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนยาบีบรรณวิทย์ New Normal ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3070-5-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 31 มีนาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,830.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรี ได้ขยายประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรออกไปถึง 30 กันยายน 2564 และในปี 2564 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ที่ 11 / 2564 เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุมตามข้อกำหนดออก ตามความในมาตรา 19 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าว ออกไปเป็นคราวที่ 13 จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2564 นั้น สถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดต่อเชื้อ Covid - 19 ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ในหลายพื้นที่ของประเทศ โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ และปริมณฑลรวมถึง 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ถูกกำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดซึ่งขณะนี้มีพื้นที่จังหวัดที่ประกาศเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดถึง 29 จังหวัด เนื่องจากมีการติดเชื้อแบบกลุ่มใหม่ๆในการระบาดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ระบบสาธารณสุขที่ให้บริการรักษาเข้าสู่ภาวะวิกฤตในการให้การดูแลผู้ป่วย ทั้งขาดแคลนอุปกรณ์ที่จำเป็นบุคลากรและสถานที่ที่ให้การรักษามีอัตราครองเตียงสูงมากยิ่งขึ้น มีผลกระทบขยายวงกว้างไปยังทุกจังหวัดในประเทศไทย ซึ่งจังหวัดปัตตานี อยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดด้วย อีกทั้งยังมีการรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาด เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุกและการป้องกัน ไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ ซึ่งมาจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของบุคลากรทั่วไปและผู้ที่มีสุขภาพอ่อนแอ โดยมีภาวะโรคประจำตัวที่มีความเสี่ยงสูงใน 7 กลุ่มโรค เช่นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง และโรคทางเดินหายใจ กลุ่มผู้สูงอายุ เด็ก หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูงหรือผู้สัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูง ของกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข จึงต้องกำหนดมาตรการควบคุมป้องกันตามหลัก New Normal และ DMHTT อย่างเข้มงวดเพียงพอต่อการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ในการนี้มีนโยบายให้โรงเรียนเปิดสอนแบบ on-site โดยต้องทำเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือ Covid free มีกิจกรรมให้ครู และนักเรียนฉีดวัคซีนป้องกัน covid-19 ครบถ้วน มีการสุ่มตรวจนักเรียนที่มาเรียน onsite ด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-19) ให้ทันต่อสถานการณ์ ด้วยเหตุนี้โรงเรียนยาบีบรรณวิทย์ จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนยาบีบรรณวิทย์ New Normal ป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-19) เพื่อเป็นการคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัส Covid-19 ในสถานศึกษา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัส Covid-19 ในสถานศึกษา
  2. 2. เพื่อจัดหา/เตรียมชุดตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 ไว้ในการตรวจคัดกรองเชิงรุก หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่มในอนาคต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนครู และบุคลากรใรงเรียน
  2. 2. รวบรวมผลการคัดกรองฯ เพื่อรายงานผลให้แก่ผู้บริหารต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 211
กลุ่มวัยทำงาน 26
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนครู และบุคลากรโรงเรียน

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าชุดตรวจโควิด Antigen test kit (ATK) 237 ชุด ชุดละ 90 บาท เป็นเงิน 21330 บาท -ค่าไวนิลโครงการขนาด 2X3 เมตร X 250 บาท จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 1500 บาท รวมเป็นเงิน 22830

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

237 0

2. 2. รวบรวมผลการคัดกรองฯ เพื่อรายงานผลให้แก่ผู้บริหารต่อไป

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ไม่มีงบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงานของโครงการโรงเรียนยาบีบรรณวิทย์ New Normal ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ส่งผลให้นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองโดยการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK มีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและทันท่วงที ส่งผลให้สามารถจัดการเรียนการสอนภายใต้สถานการณ์โรคระบาดดังกล่าวได้อย่างมั่นใจ และยังเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคนไม่ให้นำเชื้อโรคดังกล่าวไปแพร่สู่ครอบครัวและสังคมอีกด้วย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัส Covid-19 ในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษา ได้รับการคัดกรองร้อยละ 90
90.00 100.00

 

2 2. เพื่อจัดหา/เตรียมชุดตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 ไว้ในการตรวจคัดกรองเชิงรุก หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่มในอนาคต
ตัวชี้วัด : 2. มีชุดอุปกรณ์การตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 พร้อมสำหรับการลงพื้นที่ตรวจเชิงรุกในอนาคต หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่ม
90.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 237 237
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 211 211
กลุ่มวัยทำงาน 26 26
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัส Covid-19 ในสถานศึกษา (2) 2. เพื่อจัดหา/เตรียมชุดตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 ไว้ในการตรวจคัดกรองเชิงรุก หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่มในอนาคต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนครู และบุคลากรใรงเรียน (2) 2. รวบรวมผลการคัดกรองฯ เพื่อรายงานผลให้แก่ผู้บริหารต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โรงเรียนยาบีบรรณวิทย์ New Normal ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19)

รหัสโครงการ 65-L3070-5-3 รหัสสัญญา 03/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 31 มีนาคม 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เป็นโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนที่กำลังศึกษาในพื้นที่ตำบลยาบี รวมถึงพนักงาน/เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในตำบล ซึ่งมีการประสานหรือคลุกคลีกับประชาชนในพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ ทำให้เกิดความเสี่ยงในการติดเชื้อหรือการกระจายของโรค โดยโครงการดังกล่าวนี้ เป็นการช่วยลดการกระจายความเสี่ยงการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี และเป็นการสนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ข้อ 10(5) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.ประชุมชี้เเจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการแก่พนักงาน เจ้าหน้าที่ของโรงเรียนยาบีบรรณวิทย์

2.ติดต่อ/ประสานหน่วยงานสาธารณสุขในชุมชนเพื่อขอเจ้าหน้าที่ดำเนินการคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)ด้วยวิธี ATK

3.คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนครู และบุคลากรในโรงเรียน

4.รวบรวมผลการคัดกรองฯ เพื่อรายงานผลให้แก่ผู้บริหารต่อไป

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1.คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนครู และบุคลากรในโรงเรียน

2.รวบรวมผลการคัดกรองฯเพื่อรายงานผลให้แก่ผู้บริหารต่อไป

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

พักผ่อนให้เพียงพอ ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขอนามัย ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

-ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขลักษณะอนามัย

-นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

-การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

-นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

-หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

-นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

-อัพเดทข้อมูลเกี่ยวกับโรคเพียง 1-2 ครั้งต่อวันเท่านั้น เพราะกระแสข่าวต่าง ๆ ที่หลั่งไหลมาเร็วตลอดเวลาสามารถทำให้ทุกคนรู้สึกกลัวกังวลได้ง่าย ๆ การอ่านข้อมูลจากเว็บไซต์ที่เชื่อถือได้จะช่วยให้คุณแยกแยะข้อเท็จจริงจากข่าวลือ ซึ่งข้อเท็จจริงช่วยลดความวิตกกังวลได้

-นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

-ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

-นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

-

-

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-ให้คัดแยกขยะแต่ละประเภทใส่ถุงและมัดปากถุงให้แน่นไม่มีรอยฉีกขาดแล้วนำไปทิ้งในถังขยะหรือ จุดรวบรวมขยะเพื่อรอการเก็บขน

-นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

-ระบบการรักษาพยาบาลของประชาชนจะกลับสู่ภาวะปกติเมื่อมีการเจ็บป่วยก็ให้รักษาพยาบาลตามสิทธิรักษาเดิมที่มีอยู่โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เป็นการไปใช้บริการในสถานพยาบาลใกล้บ้าน หากแพทย์พิจารณาแล้วจำเป็นต้องมีการส่งตัวเข้ารับการรักษาใน รพ.อื่นก็จะใช้ระบบประเมิน

-นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

-

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-

-

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

-เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโรงเรียนยาบีบรรณวิทย์ได้รับการจัดสรรจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลยาบี เพื่อนำมาใช้ในการคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโควิด-19ในสถานศึกษา

-นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

-มีการสุ่มตรวจนักเรียนที่มาเรียน onsite ด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-19) ให้ทันต่อสถานการณ์

-นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

-

-

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

-เป็นโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนที่กำลังศึกษาในพื้นที่ตำบลยาบี รวมถึงพนักงาน/เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในตำบล ซึ่งมีการประสานหรือคลุกคลีกับประชาชนในพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ ทำให้เกิดความเสี่ยงในการติดเชื้อหรือการกระจายของโรค โดยโครงการดังกล่าวนี้ เป็นการช่วยลดการกระจายความเสี่ยงการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี และเป็นการสนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ข้อ 10(5) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561

-นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการเฝ้าระวัง จากการคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และมีการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

-

-

 

โรงเรียนยาบีบรรณวิทย์ New Normal ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3070-5-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกามารูดิน ยามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด