กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประจำปีงบประมาณ 2565
รหัสโครงการ L1478-65-05-009
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองยวน
วันที่อนุมัติ 25 กุมภาพันธ์ 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 1 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 15 กันยายน 2565
งบประมาณ 27,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเรวดี ด้วงชู
พี่เลี้ยงโครงการ นางวลัยภรณ์ เยาดำ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลละมอ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.597,99.753place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โดยที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประเทศไทยในห้วงเวลา ที่ผ่านมามีแนวโน้มที่ดีขึ้นเป็นลำดับ การระบาดที่ตรวจพบจะเกิดขึ้นเฉพาะในบางเขตพื้นที่ หรือในบางจังหวัดที่พนักงานเจ้าหน้าที่สามารถเข้าควบคุมสถานการณ์และจำกัดพื้นที่โดยมีมาตรการเฝ้าระวังและกำกับติดตามการระบาดอย่างใกล้ชิด ด้วยความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทุกภาคส่วน ในการเฝ้าระวัง และการจัดหาวัคซีนให้กับประชาชนสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องตามเป้าหมายประกอบกับศักยภาพด้านสาธารณสุขของไทยที่เข้มแข็ง ทำให้สามารถจัดหาทรัพยากรทางสาธารณสุขที่จำเป็น เพื่อบริการแก่ประชาชนได้อย่างครอบคลุม สำหรับสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติตเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของจังหวัดตรังพบผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องจึงจำเป็นต้องมีการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6๒ มาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกอบข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๑) ลงวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๓ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๑๕) ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕'๖๓ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๑๗) ลงวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๖๔ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๑๘) ลงวันที่ ๒9 มกราคม ๒๕๖๔ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๒0) ลงวันที่ ๑b เมษายน ๒๕'๖๔ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๒๒)ลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๔ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๒๓) ลงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๒๔) ลงวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๔ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘(ฉบับที่ ๒๕) ลงวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๔ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๒๗) ลงวันที่ ๑0 กรกฏาคม ๒๕๖๔ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๒๘)ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๐) ลงวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๔ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ a๒) ลงวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๔ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ,ศ. 2548 (ฉบับที่ ๓๗) ลงวันที่ ๓0 ตุลาคม ๒๕๖๔ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๙) ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินพ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๔0) ลงวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖ ๔ และคำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ ๒๓/๒๕๖๔ เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมพื้นที่เฝ้าระวังสูง และพื้นที่นำร่องด้านการท่องเที่ยว ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตร 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ลงวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔ผู้ว่าราชการจังหวัดตรังโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดตรัง ตามมติที่ประชุมครั้งที่๔๐/๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๔ จึงให้ยกเลิกคำสั่งจังหวัดตรัง ที่ ๔๘๒๑/๒๕๖๔ ลงวันที่ 6 ธันวาคม ๒๕๖๔ โดยมีมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019     สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย พบว่ามีการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งพบการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สายพันธ์ Omicron เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่เขตรับผิดชอบ ( หมู่ 2,3,5,6 และ7 ตำบลละมอ พบผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 125 ราย (ข้อมูล 1 ม.ค. 65 – 28 กุมภาพันธ์ 2565 )
    จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองยวน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเฝ้าระวัง และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไปในวงกว้าง ป้องกันโรคล่วงหน้าให้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดโรคและดำเนินการอย่างต่อเนื่องในชุมชนเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเฝ้าระวัง และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเฝ้าระวัง และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

การเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ใชุมชนมีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงในการสัมผัส และอัตราการแพร่กระจายของโรคได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 มี.ค. 2565 11:33 น.