กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการ อสม.รวมพลัง เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรค COVID -19 หมู่ที่ 6 บ้านหน้าเมือง ตำบลคลองขุด ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพรรณรัตน์ พันธุ์พงษ์

ชื่อโครงการ โครงการ อสม.รวมพลัง เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรค COVID -19 หมู่ที่ 6 บ้านหน้าเมือง ตำบลคลองขุด

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-65-2-29 เลขที่ข้อตกลง 36/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม.รวมพลัง เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรค COVID -19 หมู่ที่ 6 บ้านหน้าเมือง ตำบลคลองขุด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.รวมพลัง เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรค COVID -19 หมู่ที่ 6 บ้านหน้าเมือง ตำบลคลองขุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม.รวมพลัง เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรค COVID -19 หมู่ที่ 6 บ้านหน้าเมือง ตำบลคลองขุด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-65-2-29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ที่ประเทศไทยเกิดการระบาดของโรค COVID -19ระลอก 3 ในเดือนเมษายน 2564 ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน มีการรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยการระบาดในระลอก 3 นี้มีการระบาดอย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยมักไม่แสดงอาการ พบว่าเชื้อไวรัส COVID -19เป็นสายพันธุ์อัลฟ่าในช่วงแรก ต่อมามีข้อมูลการระบาดจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เมื่อวันที่ 3 ก.ค. 2564 โดยพบว่าเริ่มมีผู้ติดเชื้อสายพันธุ์ เดลตาในกรุงเทพฯ มีสัดส่วน 52% ครองพื้นที่ส่วนใหญ่แทนสายพันธุ์อัลฟา (อังกฤษ) และในภูมิภาคสายพันธุ์เดลตาอยู่ที่ 18% ของสายพันธุ์ทั้งหมด หลังจากนั้นจึงมีการติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วอย่างต่อเนื่อง จนทำให้มีจำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นมากกว่า 10,000 รายต่อวัน โดยข้อมูลในวันที่ 25 กรกฎาคม 2564 พบผู้ติดเชื้อรายใหม่ 15,335 ราย ติดเชื้อสะสม 497,302 ราย ผู้เสียชีวิตรายใหม่ 129 ราย และเสียชีวิตสะสม 4,059 ราย สาเหตุที่ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วคือพฤติกรรมเสี่ยงของตัวบุคคล สถานประกอบการที่ละเลยการปฏิบัติตามมาตรการ การแพร่กระจายไปยังจังหวัดต่างๆ อย่างรวดเร็วโดยกลุ่มวัยรุ่นและกลุ่มวัยทำงาน ซึ่งเป็นกลุ่มวัยสำคัญในการทำให้เกิดการระบาดในวงกว้าง เนื่องจากมีการเดินทางเคลื่อนย้ายไปทั่วประเทศ จนปัจจุบันมีรายงานผู้ติดเชื้อในทุกจังหวัด และมีการระบาดเพิ่มสูงอย่างรวดเร็วในเดือนกุมภาพันธ์ 2565 โดยพบว่าจำนวนผู้ป่วยที่รักษาหายกับจำนวนผู้ติดเชื้อที่เข้ามาใหม่ไม่สมดุลกัน ทำให้การบริหารเตียงเพื่อรองรับการดูแลรักษาผู้ป่วยไม่เพียงพอ และสิ่งสำคัญคือบุคลากรทางการแพทย์มีไม่เพียงพอ สปสช.จึงนำแนวทางการรักษาผู้ป่วยโควิด-19 ที่บ้าน หรือ Home Isolation เข้ามาใช้ในระบบสาธารณสุข เพื่อจัดบริการผู้ติดเชื้อที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว บรรเทาความเดือดร้อนประชาชน เพื่อรองรับจำนวนผู้ป่วยที่ล้นจากโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หรือโรงพยาบาลสนาม โดยผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การรักษาผู้ป่วยโควิด-19 ที่บ้าน คือ กลุ่มผู้ป่วยใหม่ที่มีอาการสีเขียว โดยผู้ป่วยจะได้รับยา อุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง มีระบบการดูแลติดตามอาการทุกวัน ส่งอาหารให้ผู้ป่วย 3 มื้อ และมีการดูแลระบบสิ่งแวดล้อมรวมถึงการจัดการขยะติดเชื้อในพื้นที่ ซึ่งการดูแลรักษาในรูปแบบดังกล่าว จำเป็นต้องให้ อสม.ในพื้นที่ช่วยบุคลากรสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วย เพราะจำนวนผู้ป่วยโควิด-19 ที่มียอดผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ทำให้จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการดูแลผู้ติดเชื้อที่บ้าน หรือ Home Isolation เพิ่มขึ้น แต่จำนวนทรัพยากรบุคคลที่รองรับการให้บริการผู้ป่วยกลุ่มนี้ไม่ได้เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่จัดส่งยา อาหาร และอุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง (ถุงห่วงใย) แม้จะปลดล็อกให้ผู้ป่วยเข้าสู่ระบบการรักษาได้เร็วขึ้นแต่ระบบส่งยากลับติดขัด ทำให้ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษาได้ช้า ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 2 บ้านท่าจีน จึงจัดทำโครงการ อสม.รวมพลัง เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรค COVID -19หมู่ที่ 2 บ้านท่าจีน ตำบลคลองขุดขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID -19) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID -19) ในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านท่าจีน ตำบลคลองขุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน
  2. เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรม ให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในการส่งยา อุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง ระบบการดูแลติดตามอาการของผู้ติดเชื้อที่บ้าน หรือ Home Isolation
  3. ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,348
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต ประชาชนกลุ่มผู้ติดเชื้อโควิด-19 ได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงจากการติดเชื้อ ร้อยละ 100 ผลลัพธ์ มีการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

วันที่ 18 เมษายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ของ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.มีวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ของ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

 

0 0

2. จัดอบรม ให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในการส่งยา อุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง ระบบการดูแลติดตามอาการของผู้ติดเชื้อที่บ้าน หรือ Home Isolation

วันที่ 19 เมษายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดอบรม ให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในการส่งยา อุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง ระบบการดูแลติดตามอาการของผู้ติดเชื้อที่บ้าน หรือ Home Isolation 2.จัดทีมลงพื้นที่โดยแบ่งเป็นชุมชนทั้งหมด 2 ชุมชน ประกอบด้วย
-ชุมชนบ้านหน้าเมือง -ชุมชนมิตรสัมพันธ์ -ชุมชนสนามบิน เพื่อส่งยา อุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง (ถุงห่วงใย) การดูแลติดตามอาการของผู้ติดเชื้อที่บ้าน หรือ Home Isolation

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อสม.ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในการส่งยา อุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง ระบบการดูแลติดตามอาการของผู้ติดเชื้อที่บ้าน หรือ Home Isolation 2.อสม.มีการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

 

0 0

3. ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 1 กันยายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ และรายงานผลการดำเนินงานให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุดทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน รายงานปัญหา อุปสรรคจากการดำเนินโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 6 บ้านหน้าเมือง ได้จัดทำโครงการ อสม.รวมพลัง เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรค COVID -19 หมู่ที่ 6 บ้านหน้าเมือง ตำบลคลองขุด ในปีงบประมาณ ๒๕๖5 โดยมีกิจกรรมดังนี้ กิจกรรมที่ 1 สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ของ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข กิจกรรมที่ 2 จัดอบรม ให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในการส่งยา อุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง ระบบการดูแลติดตามอาการของผู้ติดเชื้อที่บ้าน หรือ Home Isolation กิจกรรมที่ 3 จัดทีมลงพื้นที่โดยแบ่งเป็นชุมชนทั้งหมด 2 ชุมชน ประกอบด้วย
-ชุมชนบ้านหน้าเมือง -ชุมชนมิตรสัมพันธ์ -ชุมชนสนามบิน เพื่อส่งยา อุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง (ถุงห่วงใย) การดูแลติดตามอาการของผู้ติดเชื้อที่บ้าน หรือ Home Isolation กิจกรรมที่ 4. ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ และรายงานผลการดำเนินงานให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุดทราบ จากการดำเนินกิจกรรมส่งยา อุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง (ถุงห่วงใย) การดูแลติดตามอาการของผู้ติดเชื้อที่บ้าน หรือ Home Isolation ในพื้นที่หมู่ที่ 6 บ้านหน้าเมือง มีทั้งหมด 156 คน ผู้ชาย 65 คน ผู้หญิง 91 คน เดือนมกราคม 2565 ทั้งหมด 20 คน ผู้ชาย 6 คน ผู้หญิง 14 คน เดือนกุมภาพันธ์ 2565 ทั้งหมด 15 คน ผู้ชาย 15 คน ผู้หญิง ไม่มี เดือนมีนาคม 2565 ทั้งหมด 68 คน ผู้ชาย 28 คน ผู้หญิง 40 คน เดือนเมษายน 2565 ทั้งหมด 16 คน ผู้ชาย 16 คน ผู้หญิง ไม่มี เดือนพฤษภาคม 2565 ทั้งหมด 37 คน ผู้ชาย ไม่มี ผู้หญิง 37 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนจิตอาสาและอสม.(คน)ที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชนเพิ่มขึ้น
15.00 17.00 17.00

 

2 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
80.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3348 3348
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,348 3,348
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน (2) เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรม ให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในการส่งยา อุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง ระบบการดูแลติดตามอาการของผู้ติดเชื้อที่บ้าน หรือ Home Isolation (3) ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ อสม.รวมพลัง เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรค COVID -19 หมู่ที่ 6 บ้านหน้าเมือง ตำบลคลองขุด

รหัสโครงการ L5300-65-2-29 รหัสสัญญา 36/2565 ระยะเวลาโครงการ 28 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การส่งยา อุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง ระบบการดูแลติดตามอาการของผู้ติดเชื้อที่บ้าน หรือ Home Isolation

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การส่งยา อุปกรณ์ในการดูแลตัวเอง (ถุงห่วงใย) การดูแลติดตามอาการของผู้ติดเชื้อที่บ้าน หรือ Home Isolation

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

การสวมใส่วัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ของ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

การรักษาโควิด-19 (HI) ที่บ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ อสม.รวมพลัง เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรค COVID -19 หมู่ที่ 6 บ้านหน้าเมือง ตำบลคลองขุด จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-65-2-29

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพรรณรัตน์ พันธุ์พงษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด