กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม
วันที่อนุมัติ 19 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 47,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเชาวลิต ยอดสุวรรณ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.586,100.695place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ ๒๖ มีนาคม ๒๕"๖๓ตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยาย ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ออกไปถึง ๓.. กันยายนไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๔) ที่ ๑๑/๒๕๖๔ เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด๕๖๔ เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๔ เว็บไซราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถนการณ์การแพร่ระบาดพื้นที่ควบคุม ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา * แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินประกาศระบุว่า ตามที่ใด้มีการประกาศสถานการณ์ถุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ ๒๒ มีนาคม ท.ศ. ๒๕t๖๓ และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศ สถานการณ์ถุกเฉินตังกล่าวออกไปเป็นคราวที่ ๑๓ จนถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕t๖๔ นั้น สถานการณ์การระบาคของโรคคิดเชื้อโควิด-๑๙ ยังทวีความรุ่นแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่รมทั้งพื้นที่จังหวัดชายแดนกาคใด้ และปัจจุบันการระบาดของ โควิด-๑๙ โดยเฉพาะสายพันธุ์โอมิครอน (Omicron) ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากังวล ฉะนั้นการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ อย่างเคร่งครัด จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งโรงเรียนจึงให้ความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของนักเรียน ครู และบุคลากร ควบคู่กับการรักษาไว้ซึ่งคุณภาพการศึกษาจึงจัดโครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๘ (COVID-๑๙)ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มศักยภาพนักเรียน จำนวน 172 คน ให้มีความรู้ในเรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)ไปปฏิบัติได้ถูกต้องในชีวิตประจำวัน

นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19) และนำไปปฎิบัติได้ถูกต้องในชีวิตประจำวันร้อยละ 90

0.00
2 เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)

ลดความเสี่ยงติดเชื้อไวรัสโคโณนา2019(COVID-19) ของนักเรียน ร้อยละ 90

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 64พ.ย. 64ธ.ค. 64ม.ค. 65ก.พ. 65มี.ค. 65เม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65
1 อบรมความรู้แก่นักเรียนความรู้การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)(1 ต.ค. 2564-30 ก.ย. 2565) 15,450.00                        
รวม 15,450.00
1 อบรมความรู้แก่นักเรียนความรู้การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 100 15,450.00 1 15,450.00
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 อบรมความรู้แก่นักเรียนความรู้การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19) 100 15,450.00 15,450.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 32,350.00 1 32,350.00
23 ต.ค. 65 กิจกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโณนา 2019 (COVD-19) 0 32,350.00 32,350.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโณนา2019(COVID-19) 2.นักเรียน ครูและบุคลากรมีปลอดภัยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 เม.ย. 2565 09:00 น.